เปิดโปงกลโกง 6 วิธีการเข้าถึงบัญชีเฟซบุ๊กคนอื ่น-การป้องกัน
Posted: 01 May 2016 11:37 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
คุณเคยกังวลว่าจะถูกแฮกเฟซบุ๊ กหรือไม่ กลัวว่าจู่ๆ ก็มีคนเข้าเฟซบุ๊กคุณเพื่อทำสิ่ งที่ไม่พึงประสงค์ หรือมีมิจฉาชีพผู้ไม่หวังดีล่ วงล้ำความเป็นส่วนตัวของคุณด้ วยการเข้ามาส่องบทสนทนาหรือเปลี ่ยนรหัสผ่านของคุณ เราขอเสนอการเปิดโปงกลโกงนัก 'แฮก' เฟซบุ๊ก ที่หลายวิธีในนี้ดูแล้วไม่ได้ ยากเย็นอะไรเลย เพื่อที่ท่านจะได้ป้องกันตัวได้ และไม่หละหลวมให้ถูกล้วงรหัสได้ ง่าย
2 พ.ค. 2559 เว็บไซต์ข่าวสารเรื่ องความปลอดภัยด้านไอที Hacker9 ระบุถึง 6 วิธีที่ทำให้คนถูกแฮกเข้าบัญชี เฟซบุ๊กของตัวเองได้ ถึงแม้ว่าเฟซบุ๊กจะเป็นเว็บไซต์ ที่มีการดูแลความปลอดภัยค่อนข้ างดี เป็นเรื่องยากที่จะใช้วิธี เจาะระบบความปลอดภัยของเว็บนี้ แต่ก็ยังมีวิธีการบางวิธีที่ ทำให้เข้าถึงบัญชีของผู้อื่นได้ โดยง่าย Hacker 9 ระบุว่า ส่วนมากแล้วเหตุที่ทำให้ผู้คนถู กแฮกเฟซบุ๊กมักจะมาจากความผิ ดพลาดของพวกเขาเอง โดยการแนะนำเหล่านี้เป็นไปเพื่ อการเตือนภัยและแนะนำให้ป้องกั นเท่านั้น ไม่ได้ต้องการให้นำไปกระทำต่อผู ้อื่นแต่อย่างใด
1. การใช้โปรแกรมจดจำการกดปุ่มคีย์ บอร์ด ที่เรียกว่า 'คีย์ล็อกเกอร์' (Keylogger)
1. การใช้โปรแกรมจดจำการกดปุ่มคีย์
Hacker9 ระบุว่าวิธีการใช้ โปรแกรมจดจำการกดปุ่มคีย์บอร์ ดเป็นวิธีการที่ง่ายและได้ประสิ ทธิภาพสูงสุดในการแฮกรหัสผ่ านเฟซบุ๊ก ซึ่งมาทั้งในรูปแบบซอฟต์แวร์ (software) และฮาร์ดแวร์ (hardware) ในสำนักงานหลายแห่งนำคีย์ล็ อกเกอร์มาใช้เพื่อจั บตามองการทำงานของลูกจ้าง แต่คีย์ล็อกเกอร์ยังสามารถใช้ เป็นเครื่องมือของแฮกเกอร์ ในการบันทึกชื่อผู้ใช้และรหัสผ่ านของผู้ใช้ได้ด้วย
คีย์ล็อกเกอร์แบบซอฟต์แวร์เป็ นโปรแกรมบันทึกการกดแป้นคีย์ บอร์ดทุกๆ ตัวอักษรหลังจากที่มี การลงโปรแกรมในเครื่องเป้ าหมายไปแล้ว แน่นอนว่ารวมถึงการพิมพ์ชื่ อและการพิมพ์รหัสผ่านด้วยซึ่ งโปรแกรมเหล่านี้จะทำงานแบบซ่ อนตัวอยู่ในเครื่องและไม่ทำให้ สามารถมองเห็นได้ โดยคนที่จะใช้โปรแกรมคีย์ล็ อกเกอร์เช่นนี้แค่มีทักษะความรู ้คอมพิวเตอร์ระดับพื้นฐานก็ใช้ ได้แล้ว
คีย์ล็อกเกอร์อีกแบบหนึ่งคื อแบบฮาร์ดแวร์ มีแบบ PS2 ซึ่งจะเป็นตัวท่อต่อระหว่างปลั๊ กกับคีย์บอร์ด กับอีกแบบหนึ่งคือ USB ที่จะเป็นแท่งต่อช่อง USB สามารถจับการทำงานของผู้ใช้ได้ ทั้งหมด ซึ่งต้องอาศัยการเข้าถึงเครื่ องคอมพิวเตอร์ของผู้ต้ องการสอดแนม
2. การหลอกลวง (Phishing) ด้วยการสร้างเพจปลอมเพื่อล่อให้ ล็อกอินเข้าเฟซบุ๊ก
2. การหลอกลวง (Phishing) ด้วยการสร้างเพจปลอมเพื่อล่อให้
การหลอกลวงหรือล่อลวงให้ใส่ชื่ อและรหัสในล็อกอินปลอมเช่นนี้ เป็นวิธีที่มีใช้มานานและเมื่ อคุณพลาดไปแล้วครั้งเดียวบัญชี เฟซบุ๊กของคุณจะตกเป็นเป้ าการเข้าถึงทันที จริงๆ แล้วมีวิธีการล่อลวงทางอินเทอร์ เน็ตหลายวิธี แต่วิธีที่นิยมมากที่สุดคื อการหลอกเอารหัสผ่านด้วยการสร้ างหน้าเว็บปลอมที่ล่อให้คนล็ อกอินด้วยเฟซบุ๊กและมักจะมี การส่งเว็บเหล่านี้ให้เหยื่อผ่ านทางอีเมลโดยสร้างให้ดูคล้ ายการล็อกอินเข้าสู่เฟซบุ๊ กแบบปกติมาก แต่ทว่าแทนที่จะทำให้เราล็อกอิ นเข้าสู่เฟซบุ๊ก มันจะเอาข้อมูลชื่อและรหัสผ่ านที่เรากรอกลงไป
ฉะนั้นจึงควรระวังเมื่อมีคนส่ งข้อความแปลกๆ ล่อลวงให้เราล็อกอินเข้าไป ถึงแม้ว่าคนส่วนมากจะสามารถจั บได้ว่ามันเป็นหน้าล็อกอิ นของปลอม แต่ก็มักจะสามารถหลอกผู้ใช้ เฟซบุ๊กผ่านโทรศัพท์มือถือได้ โดยง่ายเพราะไม่ค่อยมีคนเช็คว่า URL หรือชื่อแหล่งที่อยู่ในอินเทอร์ เน็ตเป็นของเฟซบุ๊กจริงหรือไม่
3. ใช้โทรศัพท์มือถือของเหยื่ อในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงรหัสผ่าน
3. ใช้โทรศัพท์มือถือของเหยื่
วิธีนี้ไม่จำเป็นต้องรู้รหัสผ่ านดั้งเดิมของเหยื่อเลยแม้แต่น้ อย เพียงแค่มิจฉาชีพสามารถเข้าถึ งโทรศัพท์มือถือของเหยื่อได้ โดยใช้วิธีการกดแจ้งว่าลืมรหั สผ่าน (forgot my password page) แล้วก็ระบุเบอร์โทรศัพท์ของเหยื ่อลงไปจากเลือกให้ส่ง SMS เข้ามือถือของเหยื่อเพื่อเข้าสู ่กระบวนการขอคืนบัญชี
หมายความว่า ถ้าบุคคล A มีมือถือของบุคคล B อยู่ในมือ เขาสามารถแกล้งแจ้งว่าลืมรหัสผ่ านในเฟซบุ๊กเพื่อให้เฟซบุ๊กส่ง SMS เข้ามือถือของ B ก็จะทำให้ A ซึ่งถือโทรศัพท์ของ B อยู่สามารถเข้าถึงเฟซบุ๊กของ B ได้ทั้งที่ไม่รู้รหัสดั้งเดิ มเลย ดังนั้นผู้ใช้จึงควรพยายามหาวิ ธีป้องกันการเข้าถึงโทรศัพท์ได้ โดยง่ายด้วยการตั้งค่ารหั สการใช้โทรศัพท์หรือวิธีการอื่ นๆ
4. ขโมยประวัติการเข้าเว็บหรือ 'คุกกี้' (cookies) ของผู้ใช้
หมายความว่า ถ้าบุคคล A มีมือถือของบุคคล B อยู่ในมือ เขาสามารถแกล้งแจ้งว่าลืมรหัสผ่
4. ขโมยประวัติการเข้าเว็บหรือ 'คุกกี้' (cookies) ของผู้ใช้
'คุกกี้' เป็นข้อมูลหรือลายลักษณ์ที่เว็ บไซต์ส่งให้กับเว็บเบราเซอร์หรื อโปรแกรมที่เราใช้เข้าเว็บต่างๆ จากนั้นเบราเซอร์ของเราก็จะบั นทึกข้อมูลเหล่านี้ไว้แล้วจะส่ งให้กับเว็บไซต์ต่างๆ เวลาที่เราเข้าเว็บเหล่านั้นอีก คุกกี้เหล่านี้มีไว้ใช้รับรองที ่มาและระบุตัวตนของผู้ใช้และปรั บเว็บตามความชอบของผู้ใช้งาน ถึงแม้ว่าคุกกี้จะไม่ใช่ซอฟต์ แวร์จึงไม่สามารถติดไวรัสได้ แต่พวกที่ใช้คีย์ล็อกเกอร์ก็ สามารถใช้ติดตามกิจกรรมการเข้ าเว็บต่างๆ ของผู้ใช้งานได้
นอกจากนี้ยังอาจจะถูกแฮกเกอร์ ขโมยคุกกี้ไปเพื่อเข้าถึงบัญชี เว็บของผู้ใช้ได้ด้วย ซึ่งหมายความว่าถ้าผู้ใช้เว็ บเลือกให้มีการล็อกอินเฟซบุ๊กค้ างไว้ในเว็บแม้จะมีการปิดเว็ บหรือปิดเครื่องไปแล้วแฮกเกอร์ จะสามารถขโมยคุกกี้จากเบราเซอร์ ผู้ใช้นั้นได้ อย่างไรก็ตามถ้าหากมีการใช้ เฟซบุ๊กแบบเข้ารหัสการส่งข้อมูล คือมี https (แสดงถึงการเชื่อมต่ออย่ างปลอดภัยหรือ secure connection) นำหน้าแทน http ก็จะสามารถป้องกันวิธีการขโมยคุ กกี้ได้
5. การให้โปรแกรมเข้าเว็บจดจำรหั สผ่านเราไว้
5. การให้โปรแกรมเข้าเว็บจดจำรหั
ในเวลาที่เราใส่รหัสผ่านเข้าสู่ บัญชีใดๆ ก็ตาม เว็บเบราเซอร์หรือโปรแกรมเข้ าเว็บบางตัวเช่น Chrome หรือ Firefox มักจะถามว่าจะให้พวกมันช่ วยจดจำรหัสผ่านให้หรือไม่ วิธีนี้อาจจะสะดวกแต่ไม่ปลอดภั ยเพราะทำให้คนที่เข้าถึงเครื่ องเราเข้าถึงรหัสผ่านได้ง่ ายมากด้วยการเข้าไปในตัวเลื อกระบบความปลอดภัยของเบราเซอร์ ซึ่งจะเผยแพร่รหัสผ่านที่เราสั่ งให้พวกมันจดจำไว้ทันที
6. วิธีการผ่านคำถามคุ้มกั นความปลอดภัย (Security Question) ของเฟซบุ๊ก
6. วิธีการผ่านคำถามคุ้มกั
ในหลายเว็บที่มีการล็อกอินมั กจะมีการให้ตั้งคำถามคุ้มกั นความปลอดภัยเอาไว้สำหรับเวลา "ลืมรหัสผ่าน" แล้วสามารถขอรหัสผ่านหรือขอเข้ าถึงบัญชีได้ ในส่วนของเฟซบุ๊กนั้น เมื่อผู้ที่ต้องการเข้าบัญชี เราอ้างว่า "ลืมรหัสผ่าน" แล้วเลือกใส่อีเมลลงไป (ซึ่งอาจจะเป็นอีเมลที่เขามีอยู ่แล้วหรืออีเมลสร้างใหม่) เฟซบุ๊กก็จะส่งคำถามคุ้มกั นความปลอดภัยไปให้อีเมลนั้น แต่ว่าขั้นตอนนี้ของเฟซบุ๊กมี ความหละหลวมและมีความเสี่ยงสู งมาก คือการที่หลังจากคุณตอบคำถามผิด 3 ครั้งมันก็จะไม่สนใจคำถามนี้อี กต่อไปแล้วหันไปใช้วิธีการอื่ นแทนคือการให้คุณเข้าถึงบัญชี ของตัวเองจากความช่วยเหลื อของเพื่อน 3 คน จากนั้นก็จะส่ง "รหัสความปลอดภัย" (security code) ไปให้อีเมลเพื่อนทั้ง 3 คน
ส่วนที่เหลือคือการโทรศัพท์ ไปถามรหัสความปลอดภัยที่เพื่ อนเหล่านั้นได้รับ เมื่อใส่รหัสความปลอดภัยทั้ง 3 แล้วจะสามารถเข้าไปเปลี่ยนรหั สผ่านของบัญชีที่ถูกอ้างว่า "ลืมรหัสผ่าน" ได้ แต่เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรหัสผ่ านด้วยวิธีนี้ก็จะมีการแจ้งเตื อนส่งไปยังอีเมลของคุณรวมถึงชื่ อเพื่อน 3 คนที่ให้การรับรองรหั สความปลอดภัยด้วย แต่หลังจากนั้นเฟซบุ๊กคุณจะถู กล็อกไม่ให้การเข้าใช้ 24 ชม. ทำให้ช่วงเวลา 24 ชม.นี้เป็นช่วงที่คุณต้ องทำอะไรสักอย่างกับบัญชีตัวเอง
Hacker 9 แนะนำว่าไม่ควรจะตั้งคำถามคุ้ มกันความปลอดภัยกับเว็บเฟซบุ๊ก เพราะจะกลายเป็นการเพิ่มความเสี ่ยงดังกล่าวหลังจากนั้นเลือกตั วเลือกที่เข้าเฟซบุ๊กในแบบเชื่ อมต่อด้วยความปลอดภัย (https) เลือกให้มีการส่งอีเมลแจ้งเตื อนทุกครั้งที่มีการเข้าถึงเฟซบุ ๊กของคุณจากเครื่องอื่นหรื อจากเบราเซอร์อื่น รวมถึงมีระบบล็อกอินสองชั้น (login approvals) เมื่อมีการพยายามเข้าถึงจากเครื ่องอื่นหรือเบราเซอร์อื่นซึ่ งจะเป็นการส่งรหัสยืนยันอีกขั้ นตอนหนึ่งไปให้ในโทรศัพท์มือถื อจึงต้องมีการป้องกันโทรศัพท์มื อถือด้วยเผื่อเกิดกรณีข้อ 3
นอกจากนี้ยังมีคำแนะนำการป้องกั นอื่นๆ เช่น ไม่รับเพื่อนที่ไม่รู้จัก หรือในกรณีที่ต้องไปพักร้อนไม่ ควรบอกผ่านสเตตัสว่าคุณจะไปพั กร้อนเพราะจะเป็นเป้าหมายให้ผู้ ไม่หวังดีพยายามเข้าถึงบัญชี เฟซบุ๊กคุณได้ อีกทั้งยังควรเช็คอีเมลอย่างน้ อยวันละ 1 ครั้งเพื่อดูว่าเกิดอะไรขึ้นกั บเฟซบุ๊กคุณหรือไม่
Hacker9 ยังเตือนอีกว่าจนถึงตอนนี้ยั งไม่มีซอฟต์แวร์ใดที่ สามารถแฮกเข้าไปในเฟซบุ๊กได้จริ งและมักจะมีแค่การอ้างเพื่ อหลอกลวงเท่านั้นนอกจากนี้ยั งควรระวังการใช้อีเมลที่มีชื่ อน่าสนใจ เช่น password.recovery@facebook.com มาใช้หลอกลวงต้มตุ๋น วิธีการที่ได้มาซึ่งรหัสผ่ านของผู้ใช้ในตอนนี้มั กจะมาจากแค่การล่อหลอกหรือต้มตุ ๋นให้ได้มาซึ่งรหัสผ่านด้วยวิธี ต่างๆ เท่านั้น
เรียบเรียงจาก
How Facebook hacking is Carried out? – 6 ways (methods) you can get hacked, Hacker 9, 18-02-2016
http://www.hacker9.com/how- facebook-hacking-carried-out- password-methods.html
http://www.hacker9.com/how-
Facebook’s Security Question vulnerability – Bypassing Security Question!, Hacker 9, 18-02-2016
http://www.hacker9.com/ facebooks-security-question- vulnerability-bypassing- security-question.html
http://www.hacker9.com/
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น