หญิงวัยรุ่นเนปาลถ่ายภาพสิ่งห้ ามแตะต้องช่วงมีเมนส์ ชวนถกข้อห้ามชุมชน
Posted: 30 May 2016 04:05 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
ในพื้นที่ชนบทของเนปาลยังคงมี ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับเรื่องประจำเดือนของผู ้หญิง ทำให้เกิดการกีดกันที่ส่งผลถึ งปัญหาสุขภาวะและทำให้ผู้หญิ งเข้าไม่ถึงระบบการศึกษา แต่ก็มีผู้หญิงวัยรุ่น 7 คน จากจังหวัดสินธุลี ตอบโต้กลับด้วยการถ่ายภาพสิ่งที ่พวกเธอถูกห้ามไม่ให้แตะต้ องในช่วงที่มีประจำเดือน
พวกเธอถ่ายสิ่งต้องห้ามขณะมี
ที่มาภาพ WaterAid
30 พ.ค. 2559 ในจังหวัดสินธุลีห่างจากกรุ งกาฐมาณฑุลงไปทางภาคตะวันออกเฉี ยงใต้ 130 กม. โครงการของหน่วยงานการกุ ศลวอเทอร์เอด (WaterAid) สนับสนุนโครงการให้ผู้หญิงวัยรุ ่นทำการถ่ายภาพสิ่งต้องห้ ามสำหรับพวกเธอในช่วงที่ พวกเธอมีประจำเดือนเพื่อเป็ นการท้าทายข้อห้ามในชุมชนและส่ งเสริมสุขอนามัยสตรี มีการนำเสนอเรื่องนี้ผ่านสื่ ออย่างดิอินดิเพนเดนต์เมื่อวั นที่ 28 พ.ค. ที่ผ่านมาในโอกาสวันสุขอนามั ยประจำเดือนนานาชาติ
เนปาลมีความเชื่อว่าผู้หญิงในช่ วงมีประจำเดือนเป็นสิ่งที่ "ไม่บริสุทธิ์" หรือ "แปดเปื้อน" จึงมีการแยกผู้หญิงจากครอบครั วในช่วงนั้น มีการห้ามมองพระอาทิตย์ ห้ามแตะต้องผลไม้หรือดอกไม้ หรือแม้กระทั่งห้ามอยู่ที่บ้ านตัวเอง หนึ่งในข้อห้ามนี้มาจากประเพณี "เชาปาดี" (Chhaupadi) ที่นิยมในหมู่ชุมชนชาวฮินดู ในตะวันตกของเนปาลที่กีดกันไม่ ให้ผู้หญิงปฏิสัมพันธ์กั บครอบครัวเป็นเวลา 6-10 วัน คนที่เพิ่งคลอดลูกก็อาจจะถูกห้ ามในแบบเดียวกันเป็นเวลา 10 วันด้วย
เรื่องนี้มาจากความเชื่อเหนื อธรรมชาติที่ว่าผู้หญิงที่มี ประจำเดือนไม่บริสุทธิ์ และอาจจะทำให้เกิดโชคร้ายหรื อความเจ็บป่วย ทำให้ผู้หญิงถูกห้ามไม่ให้กิ นเนื้อ นม ผลไม้ และผัก เพราะกลัวว่าประจำเดือนจะทำให้ ผลผลิตแย่ลง ทำให้ผู้หญิงในช่วงมีประจำเดื อนกินได้แต่ข้าว เกลือ และอาหารแห้งเท่านั้น เรื่องนี้อาจจะส่งผลกระทบต่ อการศึกษา สุขภาวะทางกายและใจ รวมถึงบทบาทในชุมชนของผู้หญิงด้ วย ถึงแม้ว่าประเพณี "เชาปาดี" จะถูกสั่งห้ามจากศาลสูงสุ ดของเนปาลในปี 2548 แต่ก็ยังคงมีชุมชนในชนบทยั งคงปฏิบัติตามประเพณีเหล่านี้ อยู่
มานิชา หญิงวัยรุ่นอายุ 14 ปีที่เข้าร่วมโครงการเล่าว่ าเธอต้องไปอยู่กับบ้านคนอื่ นในช่วงที่มีประจำเดือนครั้งแรก เธอถูกห้ามไม่ให้ไปโรงเรี ยนและแม้กระทั่งถูกห้ามอ่านหนั งสือ เธอมองว่ามันเป็นความเชื่อที่ผิ ดที่ห้ามคนเรียนหนังสือในช่วงมี ประจำเดือน ในเนปาลมีจำนวนผู้หญิงที่ไม่รู้ หนังสือมากถึงร้อยละ 58
หญิงวัยรุ่นที่เข้าร่ วมโครงการต่างก็ไม่เคยแตะกล้ องมาก่อน แต่พวกเธอก็ได้รับโอกาสให้ สามารถแสดงผลงานภาพถ่ายของเธอต่ อชุมชนได้เพื่อให้เพื่ อนและครอบครัวของพวกเธอร่วมกั นหารือเกี่ยวกับข้อห้ามเรื่ องประจำเดือน
บาร์บารา ฟรอสต์ ผู้บริหารสูงสุดของวอเทอร์ เอดกล่าวว่า ความเงียบและการตีตราเกี่ยวกั บเรื่องประจำเดือนส่งผลกระทบต่ อชีวิตประจำวันของผู้หญิง นอกจากนี้การที่ไม่มีห้องน้ำส่ วนตัวในโรงเรียนทำให้ผู้หญิงมั กจะโดดเรียนในช่วงที่มีประจำเดื อนหรือบางคนก็ออกจากโรงเรี ยนไปเลยเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น
ฟรอสต์กล่าวอีกว่า "ความสามารถในการจัดการกั บประจำเดือนอย่างถูกสุขลั กษณะและมีศักดิ์ศรีได้เป็นสิ่ งสำคัญต่อความเป็นอยู่ที่ดี ของผู้หญิง มันทำให้ผู้หญิงรู้สึกว่ าพวกเธอสามารถมีบทบาทอย่างเต็ มที่ในสังคมได้ไม่ว่าจะเป็นช่ วงเวลาใดก็ตาม"
หญิงวัยรุ่นที่เข้าร่ วมโครงการถ่ายภาพต่างๆ ตั้งแต่ กระจก หวี ในฐานะสิ่งของที่ถูกห้ามใช้ เวลาที่มีประจำเดือน ภาพของแสงอาทิตย์ ภาพครอบครัว ภาพผลไม้อย่างมะละกอ ภาพห้องน้ำโรงเรียนที่มีคนต่ อแถวยาวเหยียดเพราะโรงเรียนห้ องน้ำน้อยเกินไปจนไม่พอใช้ ภาพสถานที่ส่วนตัวที่พวกเธอใช้ ชำระล้างผ้าอนามัยเนื่องจากถู กห้ามไม่ให้ชำระล้างในที่ๆ คนเห็น ภาพของคนที่ต้องเก็บหญ้าและฟื นเพื่อสะท้อนประสบการณ์สิ่งที่ เธอกำลังทำอยู่ตอนมีประจำเดื อนครั้งแรก
ซุชมา ดิยาลี อายุ 15 ปี บรรยายถึงรูปกระจกกับหวี ของเธอว่า หวีกับกระจกสำหรับเธอเป็นสิ่งที ่สำคัญในการทำตัวเองให้ สะอาดและมีสุขภาพดี เธอหวังว่าเพื่อนคนอื่นๆ ที่มีประจำเดือนเหมื อนเธอจะสามารถเติบโตได้ ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ถูกจำกัดเพี ยงเพราะมีประจำเดือน ได้รับการสนับสนุนจากครอบครั วมากกว่านี้ และสามารถเป็นอิ สระออกสำรวจหาโอกาสและศักยภาพที ่ดีขึ้นรอบตัวพวกเธอได้
เรียบเรียงจาก
Nepalese girls take photos of all the things they can't touch during their periods due to menstrual taboos, The Independent, 28-05-2016
http://www.independent.co.uk/ news/world/asia/nepalese- girls-take-photos-of-all-the- things-they-cant-touch-during- their-periods-due-to- menstrual-a7052266.html
http://www.independent.co.uk/
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น