สัมภาษณ์ ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ 'บุหรี่' ที่หายไปของ 'จิตร ภูมิศักดิ์'
Posted: 04 May 2016 10:20 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
บทสัมภาษณ์ในวาระครบรอบ 50 ปี การเสียชีวิต จิตร ภูมิศักดิ์ ประชาไทพูดคุยกับ รศ.ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ อาจารย์ประจำภาควิ
ประชาไท: อะไรเป็นกระบวนที่สร้าง จิตร ภูมิศักดิ์ ให้เป็นวีรบุรุษในขบวนการนักศึ
ชูศักดิ์: ผมคิดว่ามันเริ่มจากงานเขียนก่
มีข้อเสนอของอาจารย์สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล ที่เสนอไว้ว่า พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยมี
ทำไมทางพรรคคอมมิวนิสต์ถึงเลื อกที่จะเชิดชูจิตร ทั้งที่มีนักคิดฝ่ายซ้ายที่มีชื ่อเสียงอยู่หลายคน เช่น นายผี อัศนี พลจันทร์ หรือเปลื้อง วรรณศรี
นักคิดคนอื่นก็เป็นที่รับรู้อยู ่บ้าง อย่างงานของนายผีหลายชิ้นก็ได้ รับการตีพิมพ์ออกมา งานข้อคิดจากวรรณคดีที่ ชำแหละวรรณคดีโบราณ โดยเฉพาะลิลิตพระลอก็มีการพูดถึ งอยู่บ้าง ผมว่ามันไม่ได้มีจิตรคนเดียวที่ มีการหันไปรื้อฟื้นงานของฝ่ายซ้ ายในอดีตมาเผยแพร่ใหม่ งานของเปลื้อง วรรณศรีหรืองานของศรีบูรพาก็ เอามาพิมพ์ใหม่ ในบรรดาอดีตฝ่ายซ้ายในยุคนั้นจิ ตรอาจจะเด่นที่สุด
อันนี้พูดยากว่าทำไม อาจจะเป็นเพราะว่าจิตรหนุ่มที่ สุด มันอาจจะมีความรู้สึกที่นักศึ กษาสามารถเชื่อมโยงไปถึงตั วเขาเองมากกว่า เป็นไปได้อีกว่าการที่ เขาตายในหน้าที่นักปฏิวัติที่ถู กอาสาสมัครรักษาดินแดนฆ่า มันไปพ้องกับเรื่องเช กัววารา ซึ่งก็เป็นหนึ่งในฮีโร่ของฝ่ ายซ้ายในยุคนั้น อาจารย์สมศักดิ์ก็เสนอว่าจริงๆ แล้วพรรคคอมมิวนิสต์ก็มี บทบาทอยู่ในระดับหนึ่งที่ผลักดั นให้เช กัววารา กลายเป็นฮีโร่ในสังคมไทย
ถ้าจะถามว่าทำไมขบวนนักศึกษาต้ องมีฮีโร่ อาจารย์สมศักดิ์เสนอไว้ว่ามั นเป็นปรากฏการณ์ที่พรรคคอมมิวนิ สต์มองว่านักศึกษาปัญญาชนในเมื องยังติดลักษณะที่ชื่นชอบฮีโร่ อยู่ ก็เลยต้องหาฮีโร่ฝ่ายซ้ายขึ้ นมาสักคนสองคนที่จะเป็นจุดเชื่ อมโยงให้คนเหล่านี้มาสนใจแนวคิ ดของสังคมนิยม นั่นก็เป็นคำอธิบายชุดหนึ่งได้
ในส่วนที่ผมเสริมหรือมองเพิ่มก็ คือว่า ปรากฏการณ์นิยมฮีโร่ในยุคนั้นมั นเป็นส่วนหนึ่งของกระแสวั ฒนธรรมแบบที่เรียกว่าสั งคมแบบมหรสพ มันเป็นกระแสในวัฒนธรรมโดยรวมที ่เริ่มจะให้ความสำคัญกับสิ่งที่ ทุกวันนี้เราเรียกว่าเซเล็บ ถ้าพูดแบบภาษาสมัยนี้ ในยุค 60 ถึง 70 ของบ้านเรา มันมีนิตยสารหลายฉบับที่เอานั กร้องนักดนตรีหรือดารามาเผยแพร่ เป็นรูปโปสเตอร์ เหมือนในหนังสือสตาร์พิคส์ ในแง่ของวัฒนธรรมมวลชน มันมีกระแสที่จะหันมาเชิดชูยกย่ องคนดังอยู่ ถ้าเรามองในกรอบอย่างนี้ จิตร ภูมิศักดิ์ หรือเช กัววาราก็เป็นส่วนหนึ่ งของกระแสดังกล่าว
นักคิดคนอื่นก็เป็นที่รับรู้อยู
อันนี้พูดยากว่าทำไม อาจจะเป็นเพราะว่าจิตรหนุ่มที่
ถ้าจะถามว่าทำไมขบวนนักศึกษาต้
ในส่วนที่ผมเสริมหรือมองเพิ่มก็
ภาพต้นฉบับที่จิตรคาบบุหรี่
การลบบุหรี่ออกจากภาพของจิตรมี ความเป็นมาอย่างไร
จำได้ว่ามันมีกลุ่มนักศึกษาคิ ดที่จะพิมพ์ภาพโปสเตอร์จิตร ภูมิศักดิ์ โดยภาพที่ผู้คนพอจะคุ้นเคยกั นอยู่บ้างก็คือภาพที่จิตรคาบบุ หรี่ ซึ่งตอนนั้นไม่มีคนได้เห็นภาพถ่ ายจริงหรอก ภาพดังกล่าวเป็นเพียงภาพที่ สเกตช์มาจากภาพจริง ซึ่งตอนนั้นผมก็ได้เห็นแล้ว ต่อมาภาพดังกล่าวมีการพิมพ์ ออกมาขาย ซึ่งก็มาพร้อมกระแสที่มีภาพเช กัววาราที่มีออกมาก่อน หลังจากที่ภาพนี้ออกมาขายได้ไม่ นานก็มีการพูดกันในขบวนการนักศึ กษาว่ามันไม่เหมาะหรือเปล่าที่ เป็นรูปจิตรสูบบุหรี่ อีกทั้งมีเงื่อนไขพิเศษที่ว่ าขบวนการนักศึกษาในตอนนั้นเกิ ดการลุกขึ้นมาเคลื่อนไหวเรียกร้ องวิพากษ์ชีวทัศน์หรือแบบแผนวิ ธีปฏิบัติในชีวิตว่านักปฏิวัติ นักสังคมนิยม ฝ่ายซ้ายหรือนักศึกษาควรจะมีวิ ถีชีวิตที่ดีงามด้วย เรื่องการสูบบุหรี่ กินเหล้า เที่ยวซ่องพวกนี้ก็จะถูกวิจารณ์ กระแสอันนี้มันก็มีผลให้คนเขาพู ดกันว่าโปสเตอร์จิตรรูปนี้มั นไม่เหมาะ ผมเลยเข้าใจว่าโปสเตอร์นี้มั นเลยไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าไหร่ ผมก็ไม่ทราบว่าถึงขั้นเก็บไม่ ขายเลยหรือเปล่า ผมจำได้ว่ามันเคยขายอยู่หน้ าหอประชุมใหญ่มหาวิทยาลั ยธรรมศาสตร์ หลังจากนั้นมันก็หายไป แต่พอหลัง 6 ตุลาก็มีการเอาภาพดังกล่าวมาพิ มพ์ใหม่ และก็ยังเป็นรูปเดียวกั บโปสเตอร์คาบบุหรี่ แต่ครั้งนี้บุหรี่มันถูกแต่งถู กตัดออกไปแล้ว ก็กลายเป็นรูปจิตรไม่สูบบุหรี่ เป็นที่มาของบทความผมชื่อว่า จิตร ภูมิศักดิ์ในความทรงจำของใคร อย่างไร
จำได้ว่ามันมีกลุ่มนักศึกษาคิ
ภาพโปสเตอร์ที่เป็นภาพสเก็ตช์ จากภาพถ่ายต้นฉบับ
มันตลกตรงที่ภาพดังกล่าวเกิดจากการแอ็คท่าถ่ายภาพของจิตร เหมือนจะทำให้ดูเหมือนเป็นผู้ ชายแมนๆ ซะหน่อย เลยเอาเหล้ามาถือ เอาบุหรี่มาคาบไว้
การลบบุหรี่ออกจากปากของจิ ตรสะท้อนให้เห็นอะไรในขบวนนักศึ กษาขณะนั้น
กรณีนี้มันซับซ้อน ถ้าพูดให้ง่าย คนที่อยู่ในขบวนการนักศึ กษาเขาอาจมองว่าฮีโร่ต้องเป็ นแบบอย่างที่ดีในทุกด้าน ทำให้เขารู้สึกว่าถ้าจิตรสูบหรี ่จะเป็นแบบอย่างที่ไม่ดี เหมือนกับสมัยนี้ดาราต้องไม่ เสพยาบ้า ก็กลายเป็นเรื่องแบบนั้นไป มันก็เป็นปัญหาในเรื่องวิธี การสร้างฮีโร่ แต่จริงๆ แล้วผมคิดว่ามันก็ไม่ได้ง่ ายและไม่ได้ตรงไปตรงมาขนาดนั้น ที่บอกว่าฮีโร่ต้องดีทุกด้านมั นก็...จริงๆ ก็ไม่ใช่หรอก มันหมายถึงว่าในสังคมฮีโร่ต้ องเป็นแบบอย่าง แต่มันไม่ได้หมายความว่าต้องดี ทุกด้าน เผอิญกรณีสูบบุหรี่ในยุคนั้นมั นไปสอดคล้องกับการรณรงค์เรื่ องชีวทัศน์เยาวชนหรือนักศึกษา ทำให้ประเด็นเรื่องบุหรี่มั นเซนสิทีฟขึ้นมาทันที อย่างที่บอก ฮีโร่ไม่จำเป็นจะต้องดีในทุกด้ าน แต่ด้านที่จะต้องดีหรือไม่พึ งกระทำในแต่ละช่วงแต่ละยุคมันก็ ไม่เหมือนกัน ซึ่งจริงๆ ตอนนั้นการสูบบุหรี่ไม่ใช่เรื่ องไม่ดีหรือเสียหายอะไรในสั งคมหรอก ไม่เหมือนสมัยนี้ที่มี คนมารณรงค์ให้เลิกสูบบุหรี่ แต่โดยเงื่อนไขพิเศษในขณะนั้ นในขบวนการมีการรณรงค์เรื่องชี วทัศน์อย่างที่ว่า ภาพถ่ายดังกล่าวไม่ชัดเจนว่าเป็ นช่วงที่จิตรเรียนอยู่หรือไม่ จากที่มีการสืบค้นพบว่าเป็ นภาพที่จิตรไปเที่ยวอยุธยากั บเพื่อน มันตลกตรงที่ภาพดังกล่าวเกิ ดจากการแอ็คท่าถ่ายภาพของจิตร เหมือนจะทำให้ดูเหมือนเป็นผู้ ชายแมนๆ ซะหน่อย เลยเอาเหล้ามาถือ เอาบุหรี่มาคาบไว้
ในหมู่นักศึกษาในขณะนั้นมันก็มี วัฒนธรรมสองอย่างที่ปนๆ กันอยู่คือวัฒนธรรมแบบพระเอก แบบหนังฮอลลิวูด มันก็มาตั้งแต่ก่อน 14 ตุลา อิทธิพลของวัฒนธรรมแบบอเมริกายุ ค 60 พวกฮิปปี้อะไรแบบนี้ มันก็มีบทบาทกับขบวนการนักศึ กษาพอสมควร ภาพของคนที่ดูเหมือนกับว่ามั นขบถกับสังคม มันก็ดูน่าสนใจ เมื่อมันมาผสมกับขบวนการหรืออิ ทธิพลของฝ่ายซ้าย ซึ่งก็จะมีวัฒนธรรมหรือวิธีคิ ดอีกชุดหนึ่ง ที่มองความเป็นวีรบุรุษที่ต้ องเข้มงวดต่อตัวเอง มีแบบแผนชีวิตที่บริสุทธิ์ค่ อนข้างมาก มันก็เลยเหมือนกับว่ามาปะทะกั นอยู่ ภาพจิตรที่ต้องเปลี่ยนจากสูบบุ หรี่มาเป็นไม่สูบบุหรี่ มันสะท้อนให้เราเห็นถึ งการปะทะกันของวั ฒนธรรมสองกระแสที่อยู่ ในขบวนการนักศึกษา
กรณีนี้มันซับซ้อน ถ้าพูดให้ง่าย คนที่อยู่ในขบวนการนักศึ
ในหมู่นักศึกษาในขณะนั้นมันก็มี
ทำไมถึงมีการหันมาเชิดชูจิ ตรแทนเช กัววารา
เชเดิมก็เป็นฮีโร่ที่ขบวนการนั กศึกษายกย่องเชิดชูอยู่แล้ว มีหนังสือชีวประวัติของเชมาก่อน 14 ตุลา จากที่อาจารย์สมศักดิ์ ได้เสนอไว้ว่า พรรคคอมมิวนิสต์มองว่าถึงแม้ เชจะเป็นนักปฏิวัติ แต่เชมีลักษณะเป็นนักปฏิวัติ แบบฉายเดี่ยว คือร่วมปฏิวัติเสร็จก็ไม่ได้อยู ่คิวบาต่อ ไม่สร้างขบวนการปฏิวัติของตั วเองขึ้นมา ถ้ามองในแง่พรรคคอมิวนิสต์ที่ เคร่งคัดในระเบียบวินัย อย่างเรื่องการนำลักษณะที่ รวมหมู่ เชก็อาจไม่ใช่ฮีโร่ที่พรรคคอมมิ วนิสต์พึงประสงค์เท่าไหร่ มันมีลักษณะแบบวีรชนเอกชน ก็เลยหันมาเชิดชูจิตรแทน
ในสังคมอื่นๆ มีการเลือกจำอะไรบางอย่างและไม่ จำอะไรบางอย่างของวีรบุรุษ เรื่องราวของจิตรก็มีลักษณะนี้ ใช่ไหม
อันนี้มันเป็นเรื่องปกติอยู่แล้ ว ทุกที่ก็เป็นแบบนี้ทั้งนั้น กระบวนการการสร้างฮีโร่เป็ นกระบวนการของการเลือก ตั้งแต่จะจำใคร ไม่จำใคร มีกระบวนการเลือกสรรว่ าใครควรจะเป็นฮีโร่ ในสังคมไทยคุณก็จะเห็นอยู่ว่ามี ใครบ้างที่เราจดจำ บุคคลประเภทไหนที่เราจะจำหรื อไม่จำ มันก็เหมือนประวัติศาสตร์ ซึ่งมันจะบอกเราได้เยอะเกี่ยวกั บสังคมนั้นว่าสังคมหนึ่งเลือกที ่จะจำคนแบบหนึ่ง อีกสังคมเลือกที่จะจำคนแบบหนึ่ง แต่การจะจำ เราก็ไม่เลือกที่จะจำทั้ งหมดของเขา จะเลือกว่าจะจำอะไร ไม่จำอะไร ถ้าจะพูดอย่างกว้างๆ เช่นสังคมอเมริกันที่ พยายามจะเชิดชูความเป็นปัจเจกชน เชิดชูอุดมการณ์ประชาธิปไตย ความเป็นอิสระ เขาก็เลือกจะเชิดชูบุคคลอยู่ จำนวนหนึ่งอย่าง เช่น กลุ่ม Founding Father ที่เข้าร่วมการปฏิวัติ ในการปลดปล่อยอเมริ กาออกจากการเป็นอาณานิคมของอั งกฤษ ก็จะเลือกจำคนแบบหนึ่งที่เน้นบุ คลิกหรือภาพของคนที่เป็นอิ สรชนต่อต้านอาณานิคมอังกฤษ
หรือกรณีลินคอล์นที่ถูกเชิดชู ในการเลิกทาส ทั้งที่เราก็รู้ว่าจริงๆ แล้วสงครามกลางเมืองไม่ได้มีแค่ เรื่องการเลิกทาส มันมีปัญหาอื่นด้วย แต่เราก็จำเขาในฐานะที่ผลักดั นให้เกิดการล้มระบบทาสในอเมริกา ในเมืองไทยเราก็เห็นว่ามีการเลื อกจำวีรบุรุษในอดีตของเรา เราจะเลือกจำวีรบุรุษที่เน้ นการกู้ชาติหรือการปกป้องรั กษาชาติเอาไว้ มีคนตั้งคำถามว่าหมกมุ่นกั บการกู้ชาติปกป้องเอกราชเท่านั้ นหรือ มันมีเรื่องอื่นตั้งมากมายที่ คนในอดีตก็ทำ แค่เราเลือกไม่จำวีรกรรมเหล่านั ้น เช่น เวลาเราเลือกจำพระมหากษัตริย์ที ่สำคัญๆ จะพบว่ากษัตริย์ที่เรามั กจดจำจะต้องผูกพันกับการกู้ชาติ หรือเอกราชของชาติ แต่กษัตริย์องค์อื่นที่เขามี บทบาทด้านอื่นๆ เราก็มักจะไม่จำ ก็แสดงว่าวีรบุรุษจะเป็นตั วแทนของอุดมการณ์บางอย่างในสั งคมนั้นๆ
เชเดิมก็เป็นฮีโร่ที่ขบวนการนั
ในสังคมอื่นๆ มีการเลือกจำอะไรบางอย่างและไม่
อันนี้มันเป็นเรื่องปกติอยู่แล้
หรือกรณีลินคอล์นที่ถูกเชิดชู
เมื่อสังคมได้เรียนรู้หรือเมื่ออุดมการณ์หรือค่านิยมใหม่ๆ เข้ามาในสังคม ฮีโร่ในอดีตซึ่งเคยรับใช้อุ ดมการณ์บางอุดมการณ์ก็ถู กตรวจสอบ ก็เหมือนกับจิตร ภูมิศักดิ์เจอกระบวนการที่ถู กจำในลักษณะต่างๆ กันมาหลายยุคหลายสมัยที่ไม่เหมื อนกัน
แล้วที่ประเทศไทยหมกมุ่นอยู่กั
เรื่องนี้น่าจะเป็นเหตุผลเล็กๆ ไม่ใช่เหตุผลใหญ่ แต่ผมคิดว่ามันมีเป้าหมายหรือมี
มีการพยายามสร้างวีรบุรุษทางเลื อกใหม่ๆ ขึ้นมา สิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงการต่อสู้ ของอุดมการณ์ชุดต่างๆ ใช่ไหม
มันก็เป็นธรรมดา เวลาเราพูดถึงฮีโร่มันก็มี ในระดับปัจเจก เหมือนเวลาไปถามคนถึ งดาราในดวงใจหรือนักเขี ยนในดวงใจ เขาก็เป็นฮีโร่ของแต่ละบุคคล แต่ถ้าจะพูดถึงบุคคลสำคัญที่เป็ นความทรงจำร่วมของคนในชาติ มันก็เข้าไปเกี่ยวข้องกั บกลไกจำนวนมากในสังคมว่ าใครจะเป็นตัวแทนหรื อความทรงจำร่วมของสังคม ใครที่ถูกเชิดชูขึ้นมา มันก็สะท้อนสังคมนั้นว่ายึดค่ านิยมอะไรเป็นค่านิยมหลัก มันก็จะมีกลุ่มทางเลือกที่ จะเสนอวีรบุรุษทางเลือกเพื่ อจะไปแข่งกับค่านิยมหรืออุ ดมการณ์หลักของสังคม อย่างที่คุณยกตัวอย่างลุงนวมทอง ไพรวัลย์ แสดงว่าประชาธิปไตยของสามั ญชนไม่ได้ถูกพูดถึงใช่ไหม อย่างกรณีคุณสืบ นาคะเสถียร ที่กลายเป็นฮีโรของนักอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมไป ทั้งที่คนจำนวนมากที่ทำเรื่องสิ ่งแวดล้อมไม่จำเป็นต้องฆ่าตั วตายเหมือนคุณสืบก็ได้ ประเด็นคุณสืบก็น่าสนใจทั้งที่ การตายของเขาก็อธิบายได้ ลำบากเหมือนกันว่าทำไมต้องฆ่าตั วตาย แต่ก็กลายเป็นเรื่องอนุรักษ์สิ่ งแวดล้อม มันก็มีการแข่งกันไป
นี่ก็แสดงว่าฮีโร่มันไม่อมตะ มันก็ผ่านกระบวนการแข่งขันกั นไปตลอด เพราะเมื่อสังคมพัฒนาและเรียนรู ้มากขึ้น มันก็มีการมาทบทวนฮีโรเก่าเสมอ อย่างนักศึกษาหลายมหาวิทยาลั ยในอังกฤษก็มีการกลับไปทบทวนฮี โร่ของมหาวิทยาลัย บางแห่งถึงขั้นไปทุบรูปปั้นทิ้ งหรือเปลี่ยนชื่อตึกไปเลย เมื่อสังคมได้เรียนรู้หรือเมื่ ออุดมการณ์หรือค่านิยมใหม่ๆ เข้ามาในสังคม ฮีโร่ในอดีตซึ่งเคยรับใช้อุ ดมการณ์บางอุดมการณ์ก็ถู กตรวจสอบ ก็เหมือนกับจิตร ภูมิศักดิ์เจอกระบวนการที่ถู กจำในลักษณะต่างๆ กันมาหลายยุคหลายสมัยที่ไม่เหมื อนกัน
มันก็เป็นธรรมดา เวลาเราพูดถึงฮีโร่มันก็มี
นี่ก็แสดงว่าฮีโร่มันไม่อมตะ มันก็ผ่านกระบวนการแข่งขันกั
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น