รายงาน: 50 ปีการจากไปของ จิตร ภูมิศักดิ์ จาก ‘ผีใบ้หวย’ สู่ ‘อาจารย์จิตร’
Posted: 04 May 2016 04:55 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
วันที่ 5 พฤษภาคมนี้ ครบรอบ 50 การตายของจิตร ภูมิศักดิ์ ตลอดเวลากว่า 50 ปี ที่ผ่านมา ตำนานของจิตรถูกนำมาประกอบสร้ างอยู่หลายครั้ง ทั้งในพื้นที่และสถานะที่ต่างกั นออกไป จาก ‘ผีบักข่อหล่อ’ ถึง ‘อาจารย์จิตร’ และ ‘เจ้าพ่อหวย’
จิตร ภูมิศักดิ์ เสียชีวิตในวันที่ 5 พฤษภาคม 2509 เป็นเวลากว่า 50 ปีหลังจากการเสียชีวิตของบัณฑิ ตอักษรศาสตร์ผู้นี้ มีผู้คนนำเรื่องราวเขามาเล่ าขานสืบต่อกันมากมาย ทั้งในรูปแบบฐานะที่ต่างกั นไปในบริบท สถานที่ และช่วงเวลาที่ต่างกัน จิตรถูกปลูกสร้างให้เป็นทั้งศิ ลปิน นักคิด นักเขียน นักปฏิวัติ ผู้ทรงอิทธิพลของขบวนการนักศึ กษาในเมือง ไปจนถึง ‘เจ้าพ่อจิตร’ ‘อาจารย์จิตร’ ‘บุคคลสำคัญของท้องถิ่น’ ของคนในตำบลคำบ่อ อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร ถึงกับจะพูดได้ว่าชื่อจิตร ภูมิศักดิ์ เป็นที่รู้จักกันก็เมื่อหลั งจากที่เขาเสียชีวิตไปแล้ว มากกว่าในช่วงที่เขามีชีวิตอยู่ ด้วยซ้ำไป หลายคนอาจจะเรียกมันว่าการเกิ ดใหม่ของจิตร
ช่วง 14 ตุลา การกำเนิดของตำนานจิตร ภูมิศักดิ์ การแพร่หลายของผลงานจิตร
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็นช่วงจิตรเป็นที่รู้จักอย่ างแพร่หลายในหมู่นักศึกษาปั ญญาชน จากการที่ผลงานของเขาในขณะที่มี ชีวิตอยู่ถูกนำมาตีพิมพ์เผยแพร่ อีกครั้ง จนเป็นเหมือนการกลับมาเกิดใหม่ ของจิตร
“จิตรนั้นเป็นผู้ ‘มีการก่อเกิดสองครั้ง’ ครั้งแรกคือเขาเกิดและดั บไปตามวิถีของของนักสู้เพื่อสิ ทธิประชาธิปไตยในระบอบเผด็จการ ครั้งที่สองเป็นกำเนิดแห่ง ‘ตำนาน จิตร ภูมิศักดิ์’ นับเป็นตำนานกล่าวขานจนถึงปัจจุ บัน วันเกิดครั้งที่สองนี้ อุบัติขึ้นในวันที่คนไทยลื มยากคือ 14 ตุลาคม 2516” เคร็ก เจ. เรย์โนลด์ นักประวัติศาสตร์และเอเชียศึ กษาชาวอเมริกา เขียนไว้ในคำนำของหนังสือ ‘ความคิดแหวกแนวของไทย: จิตรภูมิศักดิ์และโฉมหน้าศักดิ์ นาไทยในปัจจุบัน’
เดิมทีในช่วงที่จิตรยังคงมีชีวิ ตอยู่ ชื่อเสียงของจิตรยังจำกัดอยู่ เพียงแค่ในวงปัญญาชนบางกลุ่มเท่ านั้น เหตุการณ์ที่ทำให้จิตร ภูมิศักดิ์เป็นที่รู้จักกั บสาธารณะอยู่บ้างคือ เหตุการณ์ที่จิตรถูกจับโยนบกที่ กลางหอประชุมจุฬาลงกรณ์โดยกลุ่ มนิสิต นำโดยนายสีหเดช บุนนาค จากการที่จิตรเป็นสาราณียกรให้ กับหนังสือประจำปีของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จิตรมามีชื่อเสียงเป็นที่ได้รั บความสนใจอย่างมากซึ่งเปรี ยบเหมือนการเกิดใหม่ของจิตรในช่ วงยุคเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 หลังจากที่จิตรเสียชีวิตไปแล้ วนานกว่า 7-8 ปี
จุดเปลี่ยนอยู่ที่มีการนำงานเขี ยนของจิตรมาตีพิมพ์ขึ้นใหม่ โดยปัญญาชนคนอื่นๆ เช่น ประวุฒิ ศรีมันตะ และนิสิต จิรโสภณ ที่นำผลงานของจิตรนำมารวบรวมตี พิมพ์ใหม่ โดยผลงานสำคัญที่ทำให้จิตรเป็ นที่รู้จักในวงกว้างคือ บทความชื่อ ‘โฉมหน้าศักดินาไทย’ ซึ่งจิตรเขียนไว้ตั้งแต่ปี 2500 ลงในวารสาร ‘นิติศาสตร์ 2500’ ในนามปากกา ‘สมสมัย ศรีศูทรพรรณ’ ซึ่งเป็นบทความที่มีการวิพากษ์ วิจารณ์ระบอบศักดินาอย่างเป็ นระบบ และเป็นงานที่มีความแปลกใหม่ แหวกจากการศึกษาประวัติศาสตร์ ในขณะนั้น โดยใช้แนวคิดของฝ่ายซ้ายแนวมาร์ กซิสต์เป็นเครื่องมือในการวิ เคราะห์สังคม และอีกผลงานสำคัญของจิตรก็คือ ‘ศิลปะเพื่อชีวิต’ ที่ตีพิมพ์ในปี 2550 ในนามปากกา ทีปกร ซึ่งภายหลังได้ถูกนำไปตีพิมพ์ รวมกับบทความอื่นๆ ของเขาในชื่อ ศิลปะเพื่อชีวิต ศิลปะเพื่อประชาชน โดยมีเนื้อหาวิพากษ์การสร้ างสรรค์งานศิลปะ ผลงานชิ้นนี้มีอิทธิพลอย่างสู งต่อขบวนการนักศึกษา
ผลงานทั้งสองชิ้นดังกล่าวทำให้ ชื่อจิตรกลับมามีชีวิตอีก แต่ไม่ได้เป็นเพียงแค่นายจิตร ภูมิศักดิ์เท่านั้น แต่เป็นชีวิตของจิตร ภูมิศักดิ์ ศิลปินนักรบประชาชน โดยหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลา ผลงานทั้งสองชิ้นนี้ถูกนำมาตีพิ มพ์ซ้ำอีกหลายครั้งจนกลายเป็ นหนังสือขายดีที่นักศึกษาในช่ วงเวลานั้นนิยมอ่าน อีกทั้งมีการขุดค้นผลงานชิ้นอื่ นๆ ของจิตร ภูมิศักดิ์ นำมาเผยแพร่ โดยส่วนใหญ่เป็นผลงานที่เคยถู กตีพิมพ์มาก่อนแล้ว แต่ไม่มีใครทราบว่าเป็ นผลงานของเขา เพราะจิตรใช้นามปากกาในการเขียน จึงต้องมีการขุดค้นหาผลงานของจิ ตร มีการเก็บรวบรวมนิตยสารเก่าที่ มีอยู่ตามหอสมุดต่างๆ โดยตีความจากสำนวนการเขี ยนการนำเสนอต่างๆ เพื่อให้ทราบว่างานชิ้นไหนเป็ นของจิตร
“หลัง 14 ตุลามีการพิมพ์หนังสือโฉมหน้าศั กดินาไทยใหม่อยู่หลายครั้ง กลายเป็นหนังสือขายดีเป็นอันดั บต้นๆ นักศึกษาทุกคนยุคนั้นนิยมอ่านกั นมาก ตอนนั้นใครต่อใครก็หันไปอ่ านงานของจิตร ทำให้จิตรมีชื่อเสียงโด่งดังอย่ างมากมาย ซึ่งตอนนั้นจิตรตายไปแล้วกว่า 7-8 ปี จนถึงกับมีการแต่งเพลงจิตร ภูมิศักดิ์ขึ้นมา โดยสุรชัย จันธิมาธร ในปี 2517 มีการจัดงานสัมมนาเกี่ยวกับจิตร สรุปง่ายๆ คือในช่วงปี 2516-2517 จิตรเป็นที่รู้จักอย่างกว้ างขวาง เรื่องราวของจิตรถูกนำมาขุดค้ นและเล่าใหม่ งานของเขามีอิทธิพลต่อขบวนการนั กศึกษาในสมัยนั้นอย่างมาก” สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล่าถึงบรรยากาศของขบวนการนักศึ กในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา ที่ผลงานของจิตรได้รับความนิ ยมอย่างสูงในหมู่นักศึกษาปั ญญาชนขณะนั้น
“จิตรนั้นเป็นผู้ ‘มีการก่อเกิดสองครั้ง’ ครั้งแรกคือเขาเกิดและดั
เดิมทีในช่วงที่จิตรยังคงมีชีวิ
จุดเปลี่ยนอยู่ที่มีการนำงานเขี
ผลงานทั้งสองชิ้นดังกล่าวทำให้
“หลัง 14 ตุลามีการพิมพ์หนังสือโฉมหน้าศั
บรรยากาศทางการเมืองที่เปิดกว้
“ที่กล่าวกันว่า จิตรเกิดครั้งที่สอง ช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ก็เพราะว่ามีเยาวชนคนหนุ่มสาวรุ
นอกจากนั้น พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) เองก็เข้ามามีส่วนในการผลักดั
การสร้างตัวตน จิตร ภูมิศักดิ์ ในสถานที่วายชีวา จากผู้ก่อการร้ายสู่บุคคลสำคั
ชื่อ จิตร ภูมิศักดิ์ กว่าจะเป็นที่รู้จักในตำบลคำบ่อ สถานที่เสียชีวิตของเขา ต้องใช้เวลากว่า 20 ปีจากวันที่เขาเสียชีวิต ปัจจุบันในทุกวันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปีจะมีการจั
เขาตายในชายป่าเลือดทาดินเข็ญ ยากเย็นข้นแค้นอับจน
ถึงวันพรากเขาลงมาจากยอดเขา ใต้เงามหานกอินทรี
ล้อมยิงโดยกระหยิ่ม อิ่มในเหยื่อตัวนี้
โชคดี สี่ขั้นพันดาวเหมือนดาวร่วงหล่น
ความเป็นคนล่วงหาย ก่อนตายจะหมายสิ่งใด
เพลงจิตร ภูมิศักดิ์ แต่งโดยสุรชัย จันทิมาธร เพื่ออุปมาเหตุการณ์การเสียชีวิ
จิตร ภูมิศักดิ์ ได้เข้าร่วมต่อสู้กับพรรคคอมมิ
กำนันแหลม เจ้าของฉายาสี่ขั้นพันดาว ได้เป็นหนึ่งในห้าผู้นำท้องถิ่
“ช่วงที่ผมเข้าป่าในช่วงก่อน 6 ตุลา ผมได้มีโอกาสเข้าไปในฐานที่มั่
โดยบัณฑิตเล่าให้ฟังอีกว่า แม้แต่ในช่วง 2529 ที่มีโอกาสกลับไปลงพื้นที่รอยต่
จิตร ภูมิศักดิ์ เริ่มมีตัวตนในตำบลคำบ่อในราวปี 2530 เริ่มจากที่มีกลุ่
“ชาวบ้านมองจิตรเป็นคนมีความรู้ เป็นคนเขียนหนังสือ เขามองมุมนี้มากกว่า เขาไม่ได้มองมุมนักปฏิวัติ ชาวบ้านเลยเรียกว่าอาจารย์จิตร ซึ่งเรียกตามเจ้าอาวาสเพราะคนที
ในปี 2543 จึงเกิดกิจกรรมงานรำลึ
“ผมมีโอกาสได้ลงไปบ้านหนองกุ
ส่วนกำนันแหลมต้องคอยหลบผู้
มาถึงในปี 2547 ที่เป็นจุดเปลี่ยนสำคั
‘ภูไทคำบ่อ งามละออผ้าไหม น้ำตกใสแม่คำดี ม้วยชีวีจิตรภูมิศักดิ์'
ท่ามกลางกระแสที่รัฐส่งเสริ
“รัฐมองจิตรเปลี่ยนไป ด้วยบริบทสังคมที่คลี่คลายลง สงครามเย็นได้สิ้นสุดไปแล้ว ยิ่งมีการเมืองท้องถิ่นเข้ามาก็
โปรดติดตาม
สัมภาษณ์ ‘ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์’ บุหรี่ที่หายไปของจิตร ภูมิศักดิ์
ที่นี่ เร็วๆ นี้
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น