นักกฎหมายสากลชี้คำพิพากษาพรุ่ งนี้ คดีปะทะเหมืองแร่ จ.เลย ทดสอบสิทธิของนักปกป้องสิทธิฯ
Posted: 30 May 2016 01:00 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
คณะกรรมการนักนิติศาสตร์ สากลและโพรเท็คชันฯ ออแถลงการณ์ร่วม ชี้คำพิพากษาพรุ่งนี้คดีอดี ทหารนำกลุ่มชายฉกรรจ์ทำร้ายร่ างกายชาวบ้านเปิดทางขนแร่ จ.เลย เป็นบททดสอบสำคัญเรื่องสิทธิ ของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน
ภาพเหตุการณ์ 15 พ.ค. 2557 กรณีกลุ่มชายฉกรรจ์ พร้อมอาวุธ เข้าเปิดทางให้รถบรรทุกขนย้ ายแร่ทองคำออกจากเหมืองแร่ ทองคำวังสะพุงจังหวัดเลย ชาวบ้านได้รับบาดเจ็บร่วม 30 คน
30 พ.ค. 2559 ผู้สื่อข่าวได้รับแจ้งว่า วันนี้ คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล หรือ ไอซีเจ (International Commission of Jurists) และโพรเท็คชัน อินเตอร์เนชั่นแนล (Protection International) ได้ออกแถลงการณ์ร่วม เรื่องคำพิพากษาของศาลจังหวั ดเลยที่จะออกมาในวันพรุ่งนี้ (31พ.ค.59) ในคดีที่มีจำเลย คือ พล.ท.ปรเมษฐ์ ป้อมนาค (เกษียณอายุ) และพ.ท.ปรมินทร์ ป้อมนาค (บุตรชาย) จำเลยทั้งสองถูกกล่าวหาในคดี อาญาว่ามีส่วนร่วมในการใช้ ความรุนแรง โดยใช้กลุ่มชายฉกรรจ์ติดอาวุธ กว่า 100 คน เข้าทำร้ายสมาชิกกลุ่มฅนรักษ์บ้ านเกิด รวมถึงชาวบ้านนอกเหนือจากกลุ่ มดังกล่าวด้วย เหตุเกิดที่บ้ านนาหนองบง จังหวัดเลย ในคืนวันที่ 15 พ.ค. 2557 โดยผู้เสียหายถูก ทำร้ายและกักขังไว้มากกว่า 7 ชั่วโมงระหว่างเกิดเหตุการณ์ ปะทะกัน ส่งผลให้มีผู้ได้รับบาดเจ็ บมากกว่า 20 ราย โดยในจำนวนดังกล่าวมีผู้ได้รั บบาดเจ็บสาหัสจนต้องเข้ารั บการรักษาตัวที่โรงพยาบาลจำนวน 7 ราย
ซึ่งคำแถลงร่วมดังกล่าว ระบุว่า คำพิพากษาของศาลจังหวัดเลยที่ จะออกมาในวันพรุ่งนี้ จะเป็นบททดสอบสำคัญต่อความยึดมั ่นของประเทศไทยเรื่องการนำตัวผู ้กระทำความผิดทางอาญาต่อนักปกป้ องสิทธิมนุษยชนมาลงโทษ
สำหรับกลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิดนั้น เป็นการรวมตัวของกลุ่มชุมชนที่ ประท้วง โดยกล่าวอ้างว่าการทำเหมืองส่ งผลกระทบ เป็นการทำลายสุขภาพและสิ่งแวดล้ อมของพวกเขา ทั้งนี้กิจกรรมของกลุ่มฯส่ วนมาก เน้นที่การขอให้บริษัท ทุ่งคำ จำกัด หยุดการเหมืองแร่ทองคำ ที่ภูทับฟ้า จังหวัดเลย
แซม ซารีฟี (Sam Zarifi) ผู้อำนวยการคณะกรรมการนักนิติ ศาสตร์สากล สำนักงานเอเชีย กล่าวว่า “สำหรับประเทศไทย คดีนี้กลายมาเป็นคดีสัญลักษณ์ที ่นักปกป้องเพื่อสิทธิมนุษยชนถู กละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการที่ พยายามคุ้มครองสิทธิชุ มชนของพวกเขา” นอกจากนี้ยังได้กล่าวเพิ่มเติ มว่า “มีคนจำนวนมากกำลังติดตามคดีนี้ เพื่อจะดูว่ารัฐบาลไทยจะได้ ทำตามความยึดมั่นของตนเองที่ จะคุ้มครองนักต่อสู้เพื่อสิทธิ มนุษยชนหรือไม่”
ทั้งนี้ การบุกโจมตีบ้านนาหนองบงดังกล่ าวเกิดขึ้นสืบเนื่องมาจากกลุ่ มฅนรักษ์บ้านเกิดรวมถึงชาวบ้ านในพื้นที่ตั้งสิ่งกี ดขวางถนนเส้นในหมู่บ้านที่มุ่ งไปทางเหมืองทองคำ ระหว่างการบุกโจมตี ได้มีการทำลายด่านกีดขวาง โดยมีรายงานว่ามีรถบรรทุ กจำนวนอย่างน้อย 13 คัน เข้ามาขนแร่จากพื้นที่เหมือง
จากคำให้การบางส่วนของชาวบ้าน พล.ท.ปรเมษฐ์ และพ.ท.ปรมินทร์ มีส่วนเกี่ยวข้องกับความรุ นแรงในวันที่ 15 พ.ค.57 โดยบุคคลทั้งสองถูกตั้งข้อหาต่ าง ๆ รวมถึงข้อหา ‘ทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้เกิ ดอันตรายแก่กาย’ และ ‘การกักขังผู้อื่นโดยมิชอบ หรือการลิดรอนเสรีภาพของผู้อื่ นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 295 และ มาตรา 309
แซม ยังได้กล่าวเสริมว่า “หากพิเคราะห์จากรายงานที่น่ าเชื่อถือว่ามีกลุ่มชายฉกรรจ์ติ ดอาวุธมากกว่า 100 นาย เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ดังกล่าว ไอซีเจมีข้อห่วงใยในประเด็นว่ ามีจำเลยเพียงสองรายเท่านั้นที่ ถูกตั้งข้อกล่าวหาจากการโจมตีดั งกล่าว ดังนั้น เราขอเรียกร้องให้รัฐบาลไทยได้ สืบสวนคดีใหม่และประกันว่ามี การนำบุคคลที่เกี่ยวข้องทั้ งหมดมารับผิดชอบ รวมถึงมีการให้การเยียวยาเหยื่ อที่เกี่ยวข้องด้วย”
คดีที่กล่าวหา พล.ท.ปรเมษฐ์ และพ.ท.ปรมินทร์ มีเหตุเชื่อมโยงมาจากความขัดแย้ งระหว่างกลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิ ดและบริษัท ทุ่งคำ จำกัด โดยในรอบ 7 ปีที่ผ่านมา ทางบริษัทฯได้ยื่นฟ้องทั้ งทางแพ่งและอาญากว่า 19 คดีต่อสมาชิกกลุ่มฅนรักษ์บ้ านเกิดและชาวบ้านอื่น ๆ จำนวน 33 ราย ซึ่งหนึ่งในการยื่นฟ้องคดีรวมถึ งการฟ้องหมิ่นประมาททางอาญากั บเด็กหญิงอายุ 15 ปี ที่ถูกกล่าวหาว่าได้กล่าวข้ อความอันไม่เป็นผลดีเกี่ยวกั บงานของบริษัทฯในรายการโทรทัศน์ รายการหนึ่ง
อนึ่ง กลุ่มฅนรักษ์บ้านเกิดได้เข้าเป็ นโจทก์ร่วมในคดีอาญาและเรียกร้ องค่าสินไหมทดแทนจากจำเลยทั้ งสอง ศาลจังหวัดเลยได้นัดอ่านคำพิ พากษาในวันอังคารที่ 31 พ.ค.59 เวลา 9.00 น.
ข้อมูลพื้นฐาน :
พล.ท.ปรเมษฐ์ ป้อมนาค และพ.ท.ปรมินทร์ ป้อมนาค ถูกตั้งข้อหาอย่างเป็นทางการ ตามประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่ มาตรา 295 (‘ความผิดฐานทำร้ายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ กาย’) และมาตรา 296 (‘ระวางโทษฐานทำร้ายร่างกาย’), มาตรา 309 (‘ความผิดฐานการกักขังผู้อื่ นโดยมิชอบ’ ) และมาตรา 310 (‘ระวางการกักขังผู้อื่นโดยมิ ชอบ’) , มาตรา 358 (‘ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ’), มาตรา 371 (‘ความผิดฐานพกพาอาวุธ’ ), มาตรา 376 (‘ความผิดฐานใช้ดินระเบิด’ ) , มาตรา 391 (‘ความผิดฐานใช้กำลังทำร้ายผู้ อื่น โดยไม่ถึงกับเป็นเหตุให้เกิดอั นตราย’) ประกอบกับข้อหาตามพระราชบัญญัติ อาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490 ได้แก่ มาตรา 32, มาตรา 33 (‘การนำอาวุธปืนไปจดทะเบียนยั งนายทะเบียนท้องที่’) รวมถึงมาตราอื่น ๆ ตามประมวลกฎหมายอาญา อาทิ มาตรา 83และมาตรา 84 (ตัวการและผู้ใช้), มาตรา 91 (มาตรา 90 และมาตรา 91 เป็นมาตราเกี่ยวกั บการกระทำความผิดเดียวแต่ผิ ดกฎหมายหลายบท โดยให้ศาลลงโทษทุกกรรมเป็ นกระทงความผิดไป แต่เมื่อรวมโทษทุกกระทงแล้ว ต้องไม่เกินโทษตามที่กำหนดไว้ ในมาตรา 91) นอกจากนี้ยังรวมถึงความผิดอื่น ๆ ตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน พ.ศ. 2490 มาตรา 4, มาตรา 7, มาตรา 8 ทวิ, มาตรา 72 และมาตรา 72ทวิ, พระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปื น (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2501 มาตรา 3, และคำสั่งของคณะปฏิรู ปการปกครองแผ่นดินฉบับที่ 44 ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ข้อ 3,
ข้อ6, และข้อ 7
ข้อ6, และข้อ 7
ประเทศไทยมีพันธกรณีทางกฎหมายที ่จะคุ้มครองนักปกป้องเพื่อสิทธิ มนุษยชนจากการถูกโต้กลับด้ วยเหตุที่มาจากการใช้สิทธิ ของพวกเขาที่ชอบธรรมและชอบด้ วยกฎหมาย เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ประเทศไทยได้ร่วมกับประเทศอื่น ๆ อีก 126 ประเทศที่สมัชชาสหประชาชาติ (UN General Assembly) เพื่อรับเอาหนึ่งในข้อมติล่าสุ ดของสหประชาชาติเรื่องนักปกป้ องเพื่อสิทธิมนุษยชน ข้อมติสหประชาชาติที่ 70/161 ได้รับรองความสำคัญที่การให้ ความคุ้มครองนักปกป้องเพื่อสิ ทธิมนุษยชนของรัฐต่าง ๆ โดยเฉพาะเรื่องที่นักปกป้องเพื่ อสิทธิมนุษยชนถูกประหัตประหารอั นมีเหตุมาจากการมีกิจกรรมที่ สงบและมติยังได้ต่อต้านภัยต่าง ๆ, การคุกคามและการข่มขู่ต่อนั กปกป้องเพื่อสิทธิมนุษยชน รวมทั้งส่งเสริมให้รัฐต่าง ๆ สอบสวนข้อกล่าวหาเรื่องการข่มขู ่และการโต้กลับ ทั้งยังสนับสนุนให้มีการนำตัวผู ้กระทำผิดเข้ามาสู่กระบวนการยุ ติธรรม
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น