ชำนาญ จันทร์เรือง: ทำไมต้องยกเลิกโทษประหารชีวิต
Posted: 25 May 2016 02:35 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
ทุกครั้งที่มีเหตุความรุนแรงเกิ
จากรายงานฉบับล่าสุดของ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล กล่าวถึงสถานการณ์โทษประหารชีวิ
สำหรับประชาคมอาเซียนซึ่
ประเทศไทย เมื่อปีที่แล้วมีการตัดสิ
เหตุผลในการยกเลิกโทษประหารชีวิ ต
1) การประหารชีวิตเป็นการละเมิดสิ ทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์คือสิ ทธิในการมีชีวิตอยู่ ซึ่งมนุษย์ทุกคนพึงได้รับสิทธิ นี้เสมอกันโดยไม่คำนึงถึ งสถานภาพ ชาติพันธุ์ ศาสนา หรือชาติกำเนิด ไม่ว่าจะเป็นคนดี หรือคนไม่ดี เป็นสิทธิที่ไม่อาจพรากไปจากบุ คคลได้
2) การประหารชีวิตทุกวิธีก่อให้เกิ ดความทรมานต่อนักโทษอย่ างแสนสาหัส แม้แต่การฉีดยาพิษเข้าสู่ร่ างกายก็ตาม
3) กระบวนการยุติธรรมทางอาญาย่อมมี ความเสี่ยงที่จะตัดสินผิดพลาด ไม่มีระบบใดที่จะสามารถตัดสิ นได้อย่างเป็นธรรม สม่ำเสมอ และโดยไม่มีข้อบกพร่อง ที่สำคัญคือการประหารชีวิตที่ เกิดขึ้นแล้วไม่สามารถเรียกชีวิ ตกลับคืนมาได้ แม้ในภายหลังจะมีการสอบสวนว่าผู ้ที่ถูกประหารชีวิตนั้นเป็นผู้ บริสุทธิ์ก็ตาม
4) นักโทษที่ถูกประหารชีวิตส่ วนใหญ่ คือ คนยากจน คนด้อยโอกาสซึ่งไม่สามารถว่าจ้ างทนายความที่มีความสามารถเพื่ อให้ความรู้และแก้ต่างให้กั บตนเองได้ จากงานวิจัยเกี่ยวกับนั กโทษประหารชีวิตที่ทำโดย สุมณทิพย์ จิตสว่าง ระบุว่า สถานภาพของนักโทษประหารชีวิ ตในประเทศไทยเป็นบุคคลที่มี ฐานะทางสังคมไม่สูงนัก ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถม มีรายได้ไม่เกิน 10,000 บาท การตกเป็นนักโทษประหารชีวิตเนื่ องจากสภาพแวดล้มที่กดดันหล่ อหลอมให้ก่ออาชญากรรม เช่น การคบเพื่อน การเรียนรู้ทางสังคม มีการควบคุมตัวเองต่ำ รวมทั้งการไม่เกรงกลั วโทษประหารชีวิ ตในขณะกระทำความผิด กล่าวคือ โทษประหารชีวิตไม่สามารถยับยั้ งให้พวกเขาก่ออาชญากรรม แต่พวกเขาจะกลัวโทษที่จะได้รั บหลังจากกระทำความผิดแล้ว
5) การประหารชีวิตไม่ได้ยับยั้ งอาชญากรรมรุนแรง หรือทำให้สังคมปลอดภัยขึ้น แต่ยังส่งผลกระทบที่เลวร้ายต่ อสังคม การที่รัฐอนุญาตให้มี การประหารบุคคลแสดงถึงการสนั บสนุนต่อการใช้กำลังและการส่ งเสริมวงจรการใช้ความรุนแรง บัน คี มุน เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ กล่าวว่า “ไม่เคยมีใครพิสูจน์ได้เลยว่ าโทษประหารชีวิตช่วยยับยั้ งอาชญากรรมได้” ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเมื่อเปรี ยบเทียบ 2 ประเทศ ที่มีลักษณะคล้ายกัน ทั้งจำนวนประชากร การศึกษา ภาวะเศรษฐกิจ คือ สิงคโปร์ ที่ยังมีโทษประหารชีวิต ลงโทษย่างรุนแรง และฮ่องกง ที่ไม่มีโทษประหารชีวิตแล้ว สถิติการก่ออาชญากรรมแทบไม่ต่ างกันเลย ถ้าโทษประหารชีวิตสามารถยับยั้ งอาชญากรรมได้จริง ตัวเลขการก่ออาชญากรรมของสิ งคโปร์จะต้องน้อยกว่าฮ่องกงใช่ หรือไม่
2) การประหารชีวิตทุกวิธีก่อให้เกิ
3) กระบวนการยุติธรรมทางอาญาย่อมมี
4) นักโทษที่ถูกประหารชีวิตส่
5) การประหารชีวิตไม่ได้ยับยั้
แล้วจะทำอย่างไรกับผู้ กระทำความผิด
เราควรมีทัศนคติใหม่ต่อผู้ที่ กระทำความผิด ไม่ควรคิดว่าพวกเขาเป็นผู้ร้ ายที่สมควรได้รับการลงโทษอย่ างสาสม แต่ควรคิดว่าพวกเขาก็เป็นส่ วนหนึ่งของผลผลิตทางสังคมเหมื อนเช่นเรา และการลงโทษนั้นต้องไม่เป็ นไปเพื่อการแก้แค้นทดแทนแต่ต้ องเป็นไปเพื่อการแก้ไขเยียวยา เพราะการที่พวกเขากระทำความผิ ดย่อมหมายถึงบางสิ่งบางอย่ างในสังคมของเราทำหน้าที่ผิดเพี ้ยนไป สิ่งที่เราควรที่จะคิดกระทำไม่ ใช่การกำจัดพวกเขาให้ออกไปจากสั งคม แต่เราควรที่จะคิดหาต้นตอของปั ญหา ฟันเฟืองที่ทำงานผิดพลาดเพื่ อหาวิธีการแก้ไข
แน่นอนว่าสิ่งที่บุคคลเหล่านั้ นกระทำถือว่าเป็นความผิด สิ่งที่รัฐจะต้องกระทำอย่างเร่ งด่วนคือ การนำตัวผู้กระทำความผิ ดมาลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม ซึ่งกระบวนการยุติธรรมจะต้ องโปร่งใส รวดเร็ว แม่นยำและเท่าเทียมกัน จะต้องไม่มีการปล่อยคนผิดลอยนวล ยิ่งกระบวนการยุติธรรมเป็ นธรรมและรวดเร็วเท่าไรยิ่งถื อได้ว่าเป็นการเยียวยาเหยื่อหรื อผู้เสียหายได้มากเท่านั้น
ส่วนการเรียกร้องให้มี การประหารชีวิตบุคคลที่มีพฤติ กรรมเลวร้ายเหล่านั้น ขณะเรื่องราวที่ยกตัวอย่ างมาในตอนต้นกระแสเริ่มซาลง อยากให้ทุกคนกลับมาใช้สติ และเหตุผลในพิจารณาเรื่องนี้ให้ มากขึ้นอีกครั้ง แน่นอนทุกคนโกรธและเกลียด บางคนอาจจะขยะแขยงในสิ่งที่ คนเหล่านั้นกระทำต่อเหยื่อหรื อผู้เสียหาย
เมื่อเราโกรธและเกลียดในสิ่งที่ พวกเขากระทำ เราก็ไม่ควรทำแบบเดียวกับที่ พวกเขาทำ เพราะไม่เช่นนั้นเราก็คงไม่ต่ างไปจากพวกเขา คือ “การเป็นอาชญากร” ดีๆ นี่เอง เพียงแต่เราไม่ได้ลงมือฆ่าคนด้ วยตนเอง แต่มอบหมายหน้าที่นั้นให้กั บเพชฌฆาตเป็นผู้ทำหน้าที่ “ฆ่า”แทนเราเท่านั้นเอง
แน่นอนว่าสิ่งที่บุคคลเหล่านั้
ส่วนการเรียกร้องให้มี
เมื่อเราโกรธและเกลียดในสิ่งที่
หมายเหตุ: เผยแพร่ครั้งแรกในกรุงเทพธุรกิจ ฉบับประจำวันพุธที่ 25 พ.ค.59
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น