สื่อญี่ปุ่นเสนอข่าวไทยหลังรั ฐประหาร 2 ปี เกิดเหตุลิดรอนสิทธิ ประชาชนมากขึ้น
Posted: 25 May 2016 12:04 AM PDT (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
นักข่าวอะซาฮีชิมบุนเขียนถึงเรื ่อง 2 ปีหลังการรัฐประหาร เผด็จการทหารใช้อำนาจข่มขู่ปราบ ปรามประชาชนหนักขึ้นโดยเพาะช่ วงใกล้ลงประชามติรัฐธรรมนูญใหม่ ที่ถือเป็นการลงประชามติ ในสภาพที่ไม่เป็นธรรม ทั้งหมดนี้เป็นความพยายามของชนช ั้นนำที่จะขจัดอิทธิพลของทักษิ ณและบีบเค้นกลุ่มเสื้อแดงเพื่ อรักษาอภิสิทธิ์ของตนเองไว้
นักข่าวหนังสือพิมพ์อะซาฮีชิมบุ น เขียนถึงเรื่องครบรอบ 2 ปีการรัฐประหารครั้งล่าสุดในไทย ลงบนเว็บไซต์ของหนังสือพิมพ์เมื ่อวันที่ 20 พ.ค. ที่ผ่านมา โดยระบุว่าหลังจากที่มีการยึดอำ นาจเมื่อวันที่ 22 พ.ค. 2557 ช่วงสองปีที่ผ่านมาจนถึงตอนนี้ก องทัพทำการลิดรอนเสรีภาพในการแส ดงความคิดเห็นหนักขึ้นเพื่อจำกั ดฝ่ายที่ต่อต้านพวกเขา
ในข่าวของอะซาฮีชิมบุนระบุถึ งเหตุการณืช่วงเปิดเทอมใหม่ ของนักเรียนในโรงเรียนอาชีวศึ กษาแห่งหนึ่งของจังหวั ดมหาสารคาม ในขณะที่นักเรียนกำลังเข้าพิธีป ฐมนิเทศในโรงเรียนก็มีทหารสองนา ยในชุดเครื่องแบบแอบเข้ าไปในอาคารแล้วก็ถ่ายรูปด้ วยสมาร์ทโฟนก่อนจะออกไป
สื่อญี่ปุ่นรายงานว่าในภาคอี สานเป็นพื้นที่การเกษตรที่ผู้คน ยังคงยากจนและเป็นภูมิภาคสำคัญข องกลุ่มคนเสื้อแดง แล้วก็เล่าถึง สุทิน คลังแสง เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนอาชีวศึก ษาแห่งนี้และเคยเป็นอดีต ส.ส. พรรคเพื่อไทย เขาถูกกล่าวหาจากรัฐบาลเผด็จการ ทหารอยู่เสมอนับตั้งแต่เกิดรั ฐประหารเมื่อสองปีที่แล้ว เขาเคยถูกจับเข้าค่ายทหารเพื่อ "ปรับทัศนคติ" เป็นเวลา 4 ครั้ง มีทหารคอยไปเยี่ยมเขาที่บ้านแทบ ทุกอาทิตย์ ไม่ว่าสุทินจะเดินทางภายในจังหว ัดหรือไปในส่วนอื่นของประเทศทหา รก็จะรู้ว่าเขาอยู่ที่ไหน สุทินให้สัมภาษณ์ว่าในช่วงที่ใก ล้มีการลงประชามติรัฐธรรมนูญใหม ่เผด็จการทหารก็ลิดรอนเสรีภาพขอ งพวกเขาหนักขึ้น โดยมีการเรียกคนที่ถูกมองว่าน่า จะเข้าข้างกลุ่มเสื้อแดงให้ลงนา มว่าจะไม่ขัดขวางกระบวนการประชา มติ
ในข่าวของอะซาฮียังระบุถึงกรณีห มู่บ้านบัวบานที่มีรถฮัมวีของทห ารติดอาวุธเต็มรูปแบบเคลื่อนพลไ ปตามหมู่บ้านทุกวันอาทิตย์เป็ นเวลา 2 ปีแล้ว ชาวบ้านอายุ 62 ปี กล่าวให้สัมภาษณ์ว่าทหารพวกนี้ก ำลังข่มขู่พวกเขาว่ากำลังจับตาด ูพวกเขาอยู่ตลอดเวลา
สื่อญี่ปุ่นยังระบุถึงเรื่องการ ที่ทักษิณได้รับการสนับสนุนอย่ างเข้มแข็งจากคนไทยในชนบทที่ได้ รับประโยชน์จากนโยบายของเขา แต่กลุ่มชนชั้นนำอย่างกองทัพ อำมาตย์ และชนชั้นสูงในเมืองมองว่าเรื่อ งนี้เป็นสิ่งที่ท้าทายต่ออภิสิท ธิ์ที่พวกเขามี ทำให้มีการรัฐประหารโค่นล้มทักษ ิณ แต่พรรคฝ่ายทักษิณก้ยังคงชนะการ เลือกตั้งได้เสมอมาการรั ฐประหารในปี 2557 จึงเป็นความพยายามครั้งสุดท้ายอ ย่างเด็ดขาดในการขจัดความเป็นทั กษิณออกไปจากประเทศ
เชิดชัย ตันติศิรินทร์ อดีตส.ส. และผู้ช่วยศาตราจารย์ที่มหาวิทย าลัยขอนแก่นกล่าวว่าเผด็จการทหา รพยายามกดดันแกนนำเสื้อแดงในท้ องถิ่นหนักขึ้นเพราะกลัวว่ าแกนนำเหล่านี้จะขับเคลื่อนกลุ่ มคนรากหญ้าได้ ทั้งการสั่งห้ามกิจกรรม การสั่งปิดวิทยุชุมชน ปิดสำนักงานแนวร่วมประชาธิปไตยต ่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) สาขาขอนแก่น สถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่แย่ลงใ นไทยต่างทำให้สหภาพยุโรป สหรัฐฯ และประเทศอื่นๆ ต่างก็แสดงความกังวลต่อสถานการณ ์ในไทยมากขึ้นไปด้วย
ผู้สื่อข่าวยังเขียนถึงการที่ร่ างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มี การพยายามทำให้อิทธิพลของทักษิ ณและเสื้อแดงอ่อนแอลงในขณะที่ พยายามรักษาอภิสิทธิ์ และอำนาจตามจารีตของชนชั้นนำไว้ รัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ถุกวิจารณ ์ว่ามีลักษณะไม่เป็นประชาธิปไตย เพราะลดอำนาจของ ส.ส.และคณะรัฐมนตรี เหลืออยู่แค่เล็กน้อยแต่ให้ อำนาจกับกลุ่มองค์กรแต่งตั้งอย่ างศาลรัฐธรรมนูญมาก ให้อำนาจทหารในการแต่งตั้ง ส.ว. ในช่วง 5 ปีหลังจากการเลือกตั้ง ทำให้กองทัพมีอำนาจทางอ้อมในการ แทรกแซงรัฐบาลใหม่ รวมถึงมีการออกพระราชบัญญัติการ ออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนู ญเพื่อห้ามรณรงค์สนับสนุนหรือต่ อต้านรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
ถึงแม้รัฐบาลเผด็จการทหารจะเชื่ อว่าถ้าสามารถทำให้เสียงวิพากษ์ วิจารณ์สงบลงแล้วจะสามารถทำให้ร ่างรัฐธรรมนูญใหม่นี้ผ่านประชาม ติ แหล่งข่าวระดับสูงจากกระทรวงกลา โหมกล่าวต่ออะซาฮีซิมบุนว่า "ยังคงประชาชนก็อยากจะเลือกตั้ง ถ้าให้เลือกระหว่างเนื้อหาแบบใน รัฐธรรมนูญกับการที่รัฐบาลเผด็ จการทหารจะคงอยู่ต่อไปพวกเขาคงเ ลือกอย่างแรก"
อย่างไรก็ตามผู้สื่อข่าวระบุว่า ในสถานการณ์ปัจจุบันทำให้ผู้มีส ิทธิลงประชามติรับรู้ข้อมูลที่จ ำเป็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญฉบ ับนี้ได้ยากและไม่เสรีภาพในการแ สดงความคิดเห็นต่อร่างฯ เมื่อการลงประชามติในครั้งนี้ไม ่ได้เป็นอิสระและมีความยุติธรรม มันก็อาจจะทำให้ผลลัพธ์ขาดความช อบธรรมได้
ในกรณีที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถูกปกิเสธมันจะกลายเป็ นการทำลายความมั่นใจในตัวเองของ คสช. อย่างหนัก ถึงแม้ว่าจะยังไม่มีการวางขั้นต อนกระบวนการว่าจะทำอย่างไรต่อไป ถ้าหากร่างถูกปฏิเสธ ก็มีความเป็นไปได้ที่การเลือกตั ้งจะล่าช้าออกไปอีก ถึงแม้ว่าภาคธุรกิจที่สนับสนุนร ัฐบาลเผด็จการชุดนี้จะสนับสนุนเ พราะอ้างว่ามีบรรยากาศที่สงบขึ้ นกว่าช่วงความวุ่นวายทางการเมื อง แต่มาตรการที่ คสช. นำมาใช้ในนามของความมั่นคงและคว ามปรองดองนั้นก็มีแต่การนำมาใช้ กับฝ่ายสนับสนุนทักษิณเพียงอย่ างเดียว ในสองปีที่ผ่านมาความแตกแยกในสั งคมและการเผชิญหน้าทางการเมืองม ีแต่จะเพิ่มมากขึ้น
เรียบเรียงจาก
Two years after, heavier hand on liberties, The Asahi Shimbun, 20-05-201 http://www.asahi. com/articles/DA3S12366334.html
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น