มองกระแสล้อเลียนกลุ่มติดอาวุ
Posted: 06 Jan 2016 01:43 PM PST (อ้างอิงจากอีเมล์ข่าว เวบไซท์ประชาไท)
ท่ามกลางกระแสการล้อเลียนเสียดส ีกลุ่มขวาจัดติดอาวุธที่บุกยึ ดสถานที่ราชการในรัฐโอเรกอน สหรัฐฯ ว่าเป็นกลุ่มก่อการร้ายแบบคนผิว ขาว สื่อนอกกระแสของอเมริกันก็มองว่ าปรากฏการณ์นี้เป็นการสะท้อนในเ รื่องความไม่พอใจจากการเลือกปฏิ บัติของรัฐบาล ขณะเดียวกันก็ชวนให้ตั้งคำถามเก ี่ยวกับนิยามของคำว่า 'การก่อการร้าย'
ตั้งแต่วันที่ 2 ม.ค. ที่ผ่านมา มีเหตุการณ์ผู้ประท้วงพกอาวุธซึ ่งเข้ายึดอาคารสำนักงานสัตว์ป่า ของรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ในรัฐโอเรกอนเพื่อประท้วงที่ทาง การสั่งจำคุกชาวไร่โอเรกอนสองคน คือ ดไวท์ และสตีฟ แฮมมอนด์ ในข้อหาลอบวางเพลิง อย่างไรก็ตามการประกาศตนแบบกลุ่ มติดอาวุธ (Militia) ที่เป็นคนผิวขาวและมีแนวคิดแบบฝ ่ายขวา ทำให้เกิดกระแสการตั้งคำถามเรื่ องการเลือกปฏิบัติของเจ้าหน้าที ่รัฐและกระแสการล้อเลียนเสียดสี คนกลุ่มนี้
สิ่งหนึ่งที่ทำให้ถูกตั้งคำถามค ือตั้งแต่วันเกิดเหตุจนถึงวันที ่ 4 ม.ค. คือทำไมถึงยังไม่มีปฏิบัติการใด ๆ จากเจ้าหน้าที่เพื่อทำให้คนกลุ่ มนี้ออกจากพื้นที่ ถึงแม้ว่าจากรายงานข่าวของสำนัก ข่าวต่างประเทศหลายแห่งในวันที่ 5 ม.ค. จะระบุว่าฝ่ายรัฐบาลสหรัฐฯ มีแผนการตัดไฟท่ามกลางอากาศที่ห นาวเย็นเพื่อบีบให้กลุ่มผู้ชุมน ุมเหล่านี้ออกจากพื้นที่ และมีความเป็นไปได้ที่เอฟบีไอจะ สั่งฟ้องผู้ชุมนุมกรณีบุกรุกสถา นที่ราชการ แต่ก็ไม่อาจลบล้างได้ในเรื่องที ่มีคนตั้งคำถามเรื่องความนิ่งเฉ ยของรัฐบาลในช่วงก่อนหน้านี้
นอกจากนี้ยังมีปฏิกิริยาทั้งจาก ความคิดเห็นในอินเทอร์เน็ตและจา กที่อื่นๆ ที่มองว่าถ้าหากคนกลุ่มนี้ไม่ใช ่ชาวอเมริกันผิวขาวพวกเขาคงถูกโ ต้ตอบด้วยความรุนแรงไปแล้ว เช่น ฮารี คอนดาโบลู ตลกชาวอเมริกันกล่าวประชดเสียดส ีว่าคนกลุ่มนี้เป็นคนผิวขาวที่ มีอาวุธซึ่งไม่สามารถพบเจอได้ จากการตรวจตรามัสยิด
แอมมอน บันดี ผู้อ้างว่าได้รับสารจากพระผู้ เป็นเจ้า จึงนำกำลังบุกยึดอาคารสำนั กงานสัตว์ป่าของรัฐบาลกลางสหรั ฐฯ ในรัฐโอเรกอน เพื่อประท้วงกรณีจำคุกชาวไร่ สองคนในข้อหาลอบวางเพลิง สำหรับภาพนี้ถ่ายในปี 2557 ในงานสัมมนาของ American Academy for Constitutional Education ที่รัฐแอริโซนา (ที่มาของภาพ: แฟ้มภาพ/Gage Skidmore/Wikipedia)
กลุ่มติดอาวุธกลุ่มนี้นำโดยแอมม อน บันดี ผู้ที่อ้างว่าเขาได้รับ "สารจากพระผู้เป็นเจ้า" ให้กระทำการดังกล่าว มีบางคนในกลุ่มนี้อ้างวาพวกเขาพ ร้อมสู้จนตัวตายถ้าหากมีเหตุรุ นแรงเกิดขึ้น พวกเขาอ้างว่าต้องการประท้วงการ สั่งจำคุกดไวท์ และสตีฟ แฮมมอนด์ แต่ทางครอบครัวแฮมมอนด์เองปฏิเส ธว่ากลุ่มติดอาวุธกลุ่มนี้ไม่มี อะไรเกี่ยวข้องกับพวกเขาเลย ภรรยาของ ดไวท์ แฮมมอนด์ บอกว่าเธอไม่รู้ว่าคนกลุ่มนี้ออ กมาเพราะต้องการอะไร
ในอินเทอร์เน็ตมีกระแสเสียดสีใน เรื่องนี้ เช่นมีการทำแฮชแท็กล้อเลียนอย่า ง #YallQaeda #Yeehawd #VanillaISIS ซึ่งเป็นการล้อเลียนสำเนียง ความเป็นคนผิวขาวบ้านๆ ผสมกับชื่อของกลุ่มก่อการร้าย รวมถึงมีการล้อเลียนเมื่อคนกลุ่ มนี้เรียกร้องให้ส่งขนมและถุงเท ้าเข้าไปช่วยเหลือ นอกจากนี้ยังมีกระแสวิพากษ์วิจา รณ์เชิงเสียดสีจากสื่อและนักสิ ทธิมนุษยชนในสหรัฐฯ
ตัวอย่างผู้ที่เสียดสีในเรื่องน ี้คือ คลิฟฟ์ เชชเตอร์ คอลัมนิสต์ส่อเดลี่บีสต์ที่ระบุ ในเชิงเสียดสีว่าถ้าคนกลุ่มนี้เ ป็น "เด็กผิวดำอายุ 12 ปีที่กำลังถือปืนของเล่น" เจ้าหน้าที่อาจจะถึงขั้นตอบโต้ด ้วยระเบิดนาปาล์ม ทางด้านเควิน กอสซ์โตลา บรรณาธิการบริหารสำนักข่าวชาโดว ์พรูฟก็ระบุในเชิงเสียดสีไว้ ในบทความของตนว่า ถ้าหากคนกลุ่มนี้อยู่ในแถบตะวัน ออกกลางอย่างเขตวาซิริสถานเหนือ (เป็นพื้นที่ในปากีสถานที่ติดต่ อกับอัฟกานิสถาน) พวกเขาคงตกอยู่ในรายชื่อสังหารข องปฏิบัติการโดรนสหรัฐฯ ไปแล้ว
อย่างไรก็ตามมีเรื่องที่น่าคิดเ กี่ยวกับการเล่นมุขเสียดสีกลุ่ มคนผิวขาวติดอาวุธกลุ่มนี้คือเร ื่องเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติ ทางอัตลักษณ์ ซึ่งกอสต์โตลาระบุว่ามุขตลกเหล่ านี้มาจากความคับข้องใจและความไ ม่ไว้ใจต่อรัฐบาลที่ปฏิบัติไม่ เหมือนกันเมื่อเกิดเหตุการณ์กั บคนต่างสีผิวหรือต่างศาสนา และมาจากความรู้สึกไร้พลังอำนาจ ในการที่จะเปิดโปงระบบที่อยุติ ธรรมนี้
กอสต์โตลาระบุอีกว่าผู้คนส่วนให ญ่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะคนที่มีส่วนร่วมทางการเ มืองมองว่าพวกหน่วยงานความมั่ นคงเริ่มมีการใช้การสอดแนมมากขึ ้น ปราบปรามประชาชนด้วยหน่วยปราบจา จล ใช้การปิดล้อมเพื่อสลายกลุ่มต่อ ต้าน หรือใช้กระบวนการปราบปรามที่ละเ มิดสิทธิในกระบวนการตามกฎหมาย รวมถึงเรื่องการขาดความสามารถใน การตรวจสอบเจ้าหน้าที่รัฐในปฏิ บัติการเหล่านั้น แต่กลับไม่มีการใช้เครื่องมือเห ล่านี้กับกลุ่มคนที่ต่อต้านเสรี ภาพของพลเมืองอย่างโจ่งแจ้ง ทำให้ผู้คนรู้สึกไม่พอใจรัฐบาล
"ถ้าหากบันดี (แอมมอน บันดี) และพรรคพวกของเขาเป็นเหมือนกับช าวอเมริกันร้อยละ 38 ที่ไม่ใช่คนผิวขาว ผู้คนทั่วอเมริกาคงไม่ได้เห็นฉา กอันตรายที่ดูเซอร์เรียลเช่นนี้ แล้วก็สงสัยว่าพวกนี้ทำอะไรถึ งได้ถูกเรียกว่าเป็นกลุ่มติ ดอาวุธ (militia) ในขณะที่ยึดครองพื้นที่ราชการด้ วยปืนแทนที่จะถูกเรียกว่าเป็น 'ผู้ก่อการร้าย' 'อันธพาล' 'กลุ่มหัวรุนแรง' หรือ 'กลุ่มแก็งค์' " วายาฮัต อาลี ระบุในบทความของเขาที่เผยแพร่ทา งสำนักข่าวเดอะการ์เดียน
บทความของอาลียังวิพากษ์วิจารณ์ ในเรื่องวิธีการแก้ไขปัญหากลุ่ม ขวาจัดสุดโต่งที่นิยมความรุนแรง โดยวิพากษ์วิจารณ์รวมไปถึงการรว บรวมประวัติแบบมีอคติทางเชื้ อชาติ (Racial profiling) อาลีสรุปว่า "มีความเป็นพวกสุดโต่งอยู่ในคนท ุกสีผิว ทุกเชื้อชาติ ไม่ว่าจะไว้หนวดเคราหรือโพกหัวห รือไม่ ซึ่งเรื่องนี้ทำให้การรวบรวมประ วัติแบบมีอคติทางเชื้อชาติไม่ สามารถปกป้องพวกเราจะความรุ นแรงของกลุ่มสุดโต่งได้ ดังนั้นมันถึงเวลาแล้วที่นักการ เมืองและผู้บังคับกฎหมายจะต้ องรับรู้ความจริงที่ชวนให้ ลำบากใจนี้"
กอสต์โตลาระบุในบทความที่เผยแพร ่ในเว็บไซต์คอมมอนดรีมส์ว่ากลุ่ มคนที่ออกมาล้อเลียนเสียดสี รวมถึงวิพากษ์วิจารณ์ในเรื่องนี ้หลายคนมีพื้นเพเป็นคนกลุ่มที่ มัจะถูกแปะป้ายเหมารวม เช่นคนมุสลิม ชาวซิกข์ หรือชาวอเมริกันผู้มีเชื้อสายอา หรับ ในขณะที่หนึ่งในผู้ก่อเหตุยึดสถ านที่ราชการในครั้งนี้คือ จอน ริตซ์ไชเมอร์ ผู้นำกลุ่มติดอาวุธที่เคยประท้ว งต่อต้านชาวมุสลิมโดยตั้งเป้าหม ายเป็นมัสยิดในสหรัฐฯ
กอสต์โตลาระบุต่อไปว่าคนแบบริตซ ์ไซเมอร์ได้รับอิทธิพลความหวาดก ลัวมุสลิมและคนต่างเชื้อชาติสี ผิวมาจากนโยบายต่อต้านการก่ อการร้ายของสหรัฐฯ และในทำนองเดียวกันอุปาทานหมู่ข องคนกลุ่มนี้ก็หล่อเลี้ยงนโยบาย ของรัฐบาลเช่นกัน ทำให้กอสต์โตลามองว่ารัฐบาลต้อง การคนอย่างริตซ์ไชเมอร์ในการยุ ยงต่อต้านชาวมุสลิมและชาวอาหรั บอันจะทำให้พวกเขาขยายอิทธิพลจั กรวรรดิ์นิยมกับขยายอำนาจโดยอ้ างความมั่นคงแห่งรัฐต่อไปได้
แต่ถ้าถามว่า คนชายขอบที่รู้สึกถูกกระทำจากคว ามลำเอียงเช่นนี้ต้องการให้เจ้ าหน้าที่รัฐมีปฏิบัติการกับกลุ่ มติดอาวุธขวาจัดเหล่านี้แบบเดี ยวกับทีเคยกระทำกับคนอัตลักษณ์ เดียวกับพวกเขาหรือไม่ สำหรับกอสต์โตลาคงต้องหันมามองเ รื่องการตีความหมายของคำว่า "การก่อการร้าย" (terrorism) ถึงแม้ว่าบางคนจะเสียดสีคนกลุ่ม นี้ว่าเป็น "ไอซิสในแบบของคนผิวขาว" หรือแสดงออกในเชิงสนับสนุนให้ใช ้เครื่องมือแบบเดียวกันจัดการกั บกลุ่มติดอาวุธขวาจัดกลุ่มนี้ แต่กอสต์โตลาเกรงว่าการใช้เครื่ องมือแบบเดียวกับที่มาจากนโยบาย สงครามต่อต้านการก่อการร้ ายของสหรัฐฯ จะยิ่งสร้างปัญหายุ่งยากแบบใหม่ เพิ่มมากขึ้น
อย่างไรก็ตามกอสต์โตลาย้ำว่าสิ่ งที่เกิดขึ้นนี้แสดงให้เห็นถึงก ารต้องตั้งคำถามกับมุมมองในเรื่ อง "การก่อการร้าย" อย่างจริงจัง คำว่า "การก่อการร้าย" ไม่มีความหมายตายตัว มันเป็นคำทางการเมืองที่ถุกนำมา ใช้เพื่อสร้างคุณค่าในการโฆษณาช วนเชื่อ เมื่อมีการถกเถียงว่าสิ่งใดสิ่ง หนึ่งถือว่าเป็น "การก่อการร้าย" หรือไม่การถกเถียงมักจะจบลงโดยไ ม่สามารถหาข้อสรุป โดยตัวกอสต์โตลาเองมองว่าแทนที่ จะแปะป้ายกลุ่มหัวรุนแรงผิวขาวว ่าเป็น "ผู้ก่อการร้าย" ควรจะทำให้กรอบความคิดในเรื่อง "การก่อการร้าย" ทั้งหมดทั้งมวลนี้กลายเป็นเรื่อ งล้าสมัยไปเสียดีกว่า
เรียบเรียงจาก
What’s Wrong With Laughing & Labeling Oregon Militants "Terrorists", Kevin Gosztola, Common Dreams, 05-01-2016 http://www. commondreams.org/views/2016/ 01/05/whats-wrong-laughing- labeling-oregon-militants- terrorists
Authorities plan to cut off power to militia at occupied Oregon refuge, The Guardian, 05-01-2016 http://www. theguardian.com/us-news/2016/ jan/05/oregon-wildlife- militia-standoff-power-cut-off
Tension grows as militia prepares for fourth night in Oregon standoff, The Guardian, 06-01-2016 http://www. theguardian.com/us-news/2016/ jan/05/tension-grows-as- militia-prepares-for-fourth- night-in-oregon-standoff
Oregon 'militia' mocked in the name of #YallQaeda, Aljazeera, 04-01-2016 http://www. aljazeera.com/news/2016/01/ oregon-militia-mocked-yallqaed a-160104110233552.html
ข้อมูลเพิ่มเติมจาก
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น