"หนี้สาธารณะ"พุ่ง!! เพิ่มเกือบทุกตัว เดือนส.ค.เพิ่มจากเดือนก.ค. กว่า 1.81 หมื่นล้านบาท
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) แถลงสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2558 ดังนี้
ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2558 มีจำนวน 5,736,644.08 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.81 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่ อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 18,171.13 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.หนี้ของรัฐบาล 4,110,887.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 19,508.47 ล้านบาท
2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นส ถาบันการเงิน 1,051,658.16 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5,293.34 ล้านบาท
3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบ ันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 551,176.34 ล้านบาท ลดลง 7,478.15 ล้านบาท
4. หนี้หน่วยงานของรัฐ 22,922.45 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 847.46 ล้านบาท
////////////////////////// /////////////////////////// ///////
**รายละเอียด**
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2558
ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 สิงหาคม 2558 มีจำนวน 5,736,644.08 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.81 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่ อนหน้า หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 18,171.13 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.หนี้ของรัฐบาล มียอดหนี้คงค้างเพิ่มขึ้น 19,508.47 ล้านบาท ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ เกิดจาก
1.1การกู้เงินเพื่อชดเชยการ ขาดดุลงบประมาณ จำนวน 33,000 ล้านบาท
1.2การกู้เงินเพื่อการลงทุน จากแหล่งเงินกู้ในประเทศและ ต่างประเทศ จำนวน 6,025.17 ล้านบาท มีรายการที่สำคัญ ดังนี้
1.2.1.การกู้เงินเพื่อให้รั ฐวิสาหกิจกู้ต่อ จำนวน 2,661.08 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งปร ะเทศไทย จำนวน 791.67 ล้านบาท สำหรับดำเนินโครงการรถไฟฟ้า สายสีน้ำเงิน สายสีเขียว และสายสีม่วง การรถไฟแห่งประเทศไทย จำนวน 68.02 ล้านบาท สำหรับดำเนินโครงการปรับปรุ งทางรถไฟที่ไม่ปลอดภัย 8 สายทาง และบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) จำนวน 1,801.39 ล้านบาท สำหรับโครงการซื้อเครื่องบิ นแอร์บัส A340-600
1.2.2.การกู้เงินบาททดแทนกา รกู้เงินตราต่างประเทศ จำนวน 3,147 ล้านบาท
1.2.การชำระหนี้ต้นเงินกู้ท ี่รัฐบาลกู้เพื่อชดเชยความเ สียหายให้แก่กองทุนเพื่อการ ฟื้นฟูฯ จำนวน 20,345 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น
-ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้ นฟู (FIDF 1) จำนวน 13,466.33 ล้านบาท
-ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้ นฟูระยะที่ 2 (FIDF 3) จำนวน 6,878.67 ล้านบาท
.
2.หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ เป็นสถาบันการเงิน มียอดหนี้คงค้างเพิ่มขึ้น 5,293.34 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเ กิดจาก
2.1.ผลของอัตราแลกเปลี่ยนทำ ให้หนี้ต่างประเทศสกุลต่างๆ เพิ่มขึ้น 6,685.19 ล้านบาท
2.2.การชำระคืนหนี้มากกว่าก ารเบิกจ่ายเงินกู้ทั้งในประ เทศและต่างประเทศ ทำให้หนี้ลดลง 1,391.85 ล้านบาท โดยรายการที่สำคัญเกิดจากกา รชำระหนี้ต่างประเทศ ของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) 1,599.39 ล้านบาท การไถ่ถอนพันธบัตรของการไฟฟ ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2,000 ล้านบาท และการออกพันธบัตรของการไฟฟ ้าส่วนภูมิภาค 3,000 ล้านบาท เพื่อการลงทุนตามโครงการและ เป็นเงินบาทสมทบสำหรับโครงก ารเงินกู้ต่างประเทศ
.
3.หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็ นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) มียอดหนี้คงค้างลดลง 7,478.14 ล้านบาท โดยมีรายการที่สำคัญ ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกร ณ์การเกษตรชำระหนี้เงินต้นท ี่กู้มาเพื่อดำเนินโครงการร ับจำนำข้าว โดยใช้เงินจากการระบายข้าว จำนวน 5,460 ล้านบาท และธนาคารอาคารสงเคราะห์ไถ่ ถอนพันธบัตรที่กู้มาเพื่อปร ับโครงสร้างหนี้ที่ครบกำหนด จำนวน 2,000 ล้านบาท
.
4.หน่วยงานของรัฐ มียอดหนี้คงค้างเพิ่มขึ้นจา กเดือนก่อนหน้า จำนวน 847.46 ล้านบาท โดยรายการที่สำคัญเกิดจากกา รกู้เงินของกองทุนอ้อยและน้ ำตาลทราย เพื่อดำเนินโครงการการให้คว ามช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาคว ามเดือดร้อนของชาวไร่อ้อยใน ฤดูผลิต ปี 2557/2558 จำนวน 872.31 ล้านบาท
.
หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2558 เท่ากับ 5,736,644.08 ล้านบาท แบ่งเป็น หนี้ในประเทศ 5,384,061.20 ล้านบาท หรือร้อยละ 93.85 และหนี้ต่างประเทศ 352,582.88 ล้านบาท (ประมาณ 10,052.92 ล้านเหรียญสหรัฐ) หรือเท่ากับร้อยละ 6.15 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง และหากเปรียบเทียบกับเงินสำ รองระหว่างประเทศ จำนวน 155,838.10 ล้านเหรียญสหรัฐ (ข้อมูล ณ 31 สิงหาคม 2558) หนี้ต่างประเทศ จะคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยล ะ 6.45 ของเงินทุนสำรองระหว่างประเ ทศ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงเสถียรภา พและความมั่นคงในด้านการเงิ นของประเทศ
โดยหนี้สาธารณะแบ่งออกเป็นห นี้ระยะยาวถึง 5,542,534.01 ล้านบาท หรือร้อยละ 96.62 และ มีหนี้ระยะสั้น 194,110.07 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.38 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง
************************** ************
รายงานผลการบริหารจัดการหนี ้ภาครัฐที่ดำเนินการโดยสำนั กงานบริหารหนี้สาธารณะ ประจำเดือนสิงหาคม 2558
สบน. มีการบริหารจัดการหนี้ภาครั ฐ วงเงินรวม 73,407 ล้านบาท แบ่งเป็น หนี้ของรัฐบาล จำนวน 61,744.57 ล้านบาท และหนี้รัฐวิสาหกิจ จำนวน 11,662.43 ล้านบาท
.
1.การบริหารจัดการหนี้ของรั ฐบาล วงเงิน 61,744.57 ล้านบาท ประกอบด้วย
.
1.1.ผลการกู้เงินในประเทศขอ งรัฐบาล จำนวน 37,081.69 ล้านบาท
1.1.1.การกู้เงินเพื่อชดเชย การขาดดุลงบประมาณ จำนวน 33,000 ล้านบาท
1.1.2.การเบิกจ่ายเงินกู้เพ ื่อวางระบบบริหารจัดการน้ำ จำนวน 75 ล้านบาท
1.1.3.การเบิกจ่ายเงินกู้ให ้กู้ต่อ จำนวน 859.69 ล้านบาท
1.1.4.การเบิกจ่ายเงินกู้บา ททดแทนการกู้เงินตราต่างประ เทศ จำนวน 3,147 ล้านบาท
.
1.2การกู้เงินและเบิกจ่ายเง ินกู้จากต่างประเทศของรัฐบา ล กระทรวงการคลังได้มีการเบิก จ่ายเงินกู้และการลงนามสัญญ าเงินกู้จากต่างประเทศ จำนวน 1,943.48 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.2.1.การกู้เงิน Euro Commercial Paper หรือ ECP Programme จำนวน 1,801.39 ล้านบาท เพื่อให้กู้ต่อแก่บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) สำหรับโครงการซื้อเครื่องบิ น แอร์บัส A340-600
1.2.2.การเบิกจ่ายเงินกู้จา กธนาคารพัฒนาเอเชีย จำนวน 142.09 ล้านบาท สำหรับโครงการก่อสร้างทางสา ยหลักให้เป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2) ของกรมทางหลวง
.
1.3.การชำระหนี้ของรัฐบาล จำนวน 22,719.40 ล้านบาท แบ่งเป็น
1.3.1.การชำระหนี้ที่รัฐบาล กู้โดยตรง จำนวน 672.44 ล้านบาท แบ่งเป็น
1.3.1.1.ชำระต้นเงิน จำนวน 374.49 ล้านบาท ซึ่งเป็นการชำระหนี้ต่างประ เทศ โดยใช้เงินงบประมาณทั้งจำนว น
1.3.1.2.ชำระดอกเบี้ย จำนวน 297.95 ล้านบาท โดยใช้เงินงบประมาณทั้งจำนว น แบ่งเป็น ดอกเบี้ยหนี้ในประเทศ 164.70 ล้านบาท และดอกเบี้ยหนี้ต่างประเทศ 133.25 ล้านบาท
1.3.2.การชำระหนี้ที่รัฐบาล กู้เพื่อชดเชยความเสียหายให ้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ จำนวน 22,046.96 ล้านบาท โดยใช้เงินจากบัญชีสะสมเพื่ อการชำระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ ความเสียหายของกองทุนเพื่อก ารฟื้นฟูฯ แบ่งเป็น
1.3.2.1.การชำระหนี้ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้ นฟูฯ (FIDF 1) จำนวน 13,588.68 ล้านบาท โดยเป็นการชำระต้นเงิน 13,466.33 ล้านบาท และชำระดอกเบี้ย 122.35 ล้านบาท
1.3.2.2.การชำระหนี้ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้ นฟูฯ (FIDF 3) จำนวน 8,458.28 ล้านบาท โดยเป็นการชำระต้นเงิน 6,878.66 ล้านบาท และชำระดอกเบี้ย 1,579.62 ล้านบาท
2.การบริหารจัดการหนี้รัฐวิ สาหกิจ วงเงิน 11,662.43 ล้านบาท ประกอบด้วย
.
2.1.การกู้เงินในประเทศของร ัฐวิสาหกิจ จำนวน 3,000 ล้านบาท โดยเป็นการกู้เงินในประเทศข องการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในรูปของพันธบัตรรัฐวิสาหกิ จที่รัฐบาลไม่ค้ำประกัน เพื่อการลงทุนตามโครงการและ เป็นเงินบาทสมทบสำหรับโครงก ารเงินกู้ต่างประเทศ
2.2.การเบิกจ่ายเงินกู้ต่าง ประเทศ จำนวน 62.43 ล้านบาท โดยเป็นการเบิกจ่ายเงินกู้จ ากองค์กรความร่วมมือระหว่าง ประเทศของญี่ปุ่น (JICA) ของการประปานครหลวง สำหรับโครงการปรับปรุงกิจกา รประปาแผนหลักครั้งที่ 8
2.3.การปรับโครงสร้างหนี้ใน ประเทศของรัฐวิสาหกิจ จำนวน 8,600 ล้านบาท ประกอบด้วยการปรับโครงสร้าง หนี้ของการรถไฟแห่งประเทศไท ย 5,300 ล้านบาท และการเคหะแห่งชาติ 3,300 ล้านบาท
************************** ***************
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) แถลงสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง
ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2558 มีจำนวน 5,736,644.08 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.81 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่
1.หนี้ของรัฐบาล 4,110,887.13 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 19,508.47 ล้านบาท
2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นส
3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบ
4. หนี้หน่วยงานของรัฐ 22,922.45 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 847.46 ล้านบาท
//////////////////////////
**รายละเอียด**
รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2558
ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 31 สิงหาคม 2558 มีจำนวน 5,736,644.08 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.81 ของ GDP เมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่
1.หนี้ของรัฐบาล มียอดหนี้คงค้างเพิ่มขึ้น 19,508.47 ล้านบาท ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
1.1การกู้เงินเพื่อชดเชยการ
1.2การกู้เงินเพื่อการลงทุน
1.2.1.การกู้เงินเพื่อให้รั
1.2.2.การกู้เงินบาททดแทนกา
1.2.การชำระหนี้ต้นเงินกู้ท
-ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้
-ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้
.
2.หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่
2.1.ผลของอัตราแลกเปลี่ยนทำ
2.2.การชำระคืนหนี้มากกว่าก
.
3.หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็
.
4.หน่วยงานของรัฐ มียอดหนี้คงค้างเพิ่มขึ้นจา
.
หนี้สาธารณะ ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2558 เท่ากับ 5,736,644.08 ล้านบาท แบ่งเป็น หนี้ในประเทศ 5,384,061.20 ล้านบาท หรือร้อยละ 93.85 และหนี้ต่างประเทศ 352,582.88 ล้านบาท (ประมาณ 10,052.92 ล้านเหรียญสหรัฐ) หรือเท่ากับร้อยละ 6.15 ของยอดหนี้สาธารณะคงค้าง และหากเปรียบเทียบกับเงินสำ
โดยหนี้สาธารณะแบ่งออกเป็นห
**************************
รายงานผลการบริหารจัดการหนี
สบน. มีการบริหารจัดการหนี้ภาครั
.
1.การบริหารจัดการหนี้ของรั
.
1.1.ผลการกู้เงินในประเทศขอ
1.1.1.การกู้เงินเพื่อชดเชย
1.1.2.การเบิกจ่ายเงินกู้เพ
1.1.3.การเบิกจ่ายเงินกู้ให
1.1.4.การเบิกจ่ายเงินกู้บา
.
1.2การกู้เงินและเบิกจ่ายเง
1.2.1.การกู้เงิน Euro Commercial Paper หรือ ECP Programme จำนวน 1,801.39 ล้านบาท เพื่อให้กู้ต่อแก่บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) สำหรับโครงการซื้อเครื่องบิ
1.2.2.การเบิกจ่ายเงินกู้จา
.
1.3.การชำระหนี้ของรัฐบาล จำนวน 22,719.40 ล้านบาท แบ่งเป็น
1.3.1.การชำระหนี้ที่รัฐบาล
1.3.1.1.ชำระต้นเงิน จำนวน 374.49 ล้านบาท ซึ่งเป็นการชำระหนี้ต่างประ
1.3.1.2.ชำระดอกเบี้ย จำนวน 297.95 ล้านบาท โดยใช้เงินงบประมาณทั้งจำนว
1.3.2.การชำระหนี้ที่รัฐบาล
1.3.2.1.การชำระหนี้ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้
1.3.2.2.การชำระหนี้ภายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้
2.การบริหารจัดการหนี้รัฐวิ
.
2.1.การกู้เงินในประเทศของร
2.2.การเบิกจ่ายเงินกู้ต่าง
2.3.การปรับโครงสร้างหนี้ใน