ชื่อภาษาไทยในอวกาศ
47 หมีใหญ่ (47 Ursae Majoris; HIP 53721) หรือต่อไปนี้จะมีชื่อสามัญว ่า ชาละวัน (Chalawan) และดาวบริวารทั้ง 2 ดวง ซึ่งก็คือ 47 หมีใหญ่ บี และ 47 หมีใหญ่ ซี หรือ ตะเภาทอง (Taphao Thong) และ ตะเภาแก้ว (Taphao Kaew) ตามลำดับ เป็นหนึ่งในบันทึกหน้าใหม่ข องวงการดาราศาสตร์ไทย
ชาละวัน (47 หมีใหญ่) ระยะห่างจากโลก 45.9 ปีแสง
หรือ 434,250,000,000,000 กิโลเมตร
(สี่ร้อยสามสิบสี่ล้านสองแส นห้าหมื่นล้าน)
ระยะห่างจากดวงอาทิตย์1 หน่วยดาราศาสตร์
หรือ 149,597,870.7 กิโลเมตร
นอกจากชื่อดาวภาษาไทยแล้ว ยังมีชื่อวัตถุ สถานที่บนท้องฟ้าอีกเช่นกัน เช่น ชื่อหลุมอุกกาบาตบนดาวอังคา ร กันตัง (Kantang) ซึ่งเป็นชื่ออำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ดาวเคราะห์น้อย 151834 มงกุฎ (151834 Mongkut) ซึ่งตั้งชื่อตามพระนามของพร ะบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ เจ้าอยู่หัว และตอนนี้ก็มีดาวฤกษ์ที่มอง เห็นได้ด้วยตาเปล่าเป็นมีชื ่อสามัญเป็นภาษาไทยแล้ว
ต่อไปนี้คนไทยก็จะมีชื่อภาษ าไทยอีกชื่อบนทางฟ้า หวังว่านี่จะเป็นจุดเริ่มต้ นให้หลาย ๆ คนหันมาสนใจดาราศาสตร์ และผมก็หวังว่าทุกคนจะหันมา ทางดาวจระเข้และชี้ว่า “นั่นไง ชาละวัน”
47 หมีใหญ่ (47 Ursae Majoris; HIP 53721) หรือต่อไปนี้จะมีชื่อสามัญว
ชาละวัน (47 หมีใหญ่) ระยะห่างจากโลก 45.9 ปีแสง
หรือ 434,250,000,000,000 กิโลเมตร
(สี่ร้อยสามสิบสี่ล้านสองแส
ระยะห่างจากดวงอาทิตย์1 หน่วยดาราศาสตร์
หรือ 149,597,870.7 กิโลเมตร
นอกจากชื่อดาวภาษาไทยแล้ว ยังมีชื่อวัตถุ สถานที่บนท้องฟ้าอีกเช่นกัน
ต่อไปนี้คนไทยก็จะมีชื่อภาษ
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น