ดวงจันทร์บังดาวอัลเดบารัน 14 มีนาคม 2559
คืนวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2559 เวลาประมาณ 4-5 ทุ่ม พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไท ย ยกเว้นภาคใต้ จะมีโอกาสสังเกตดวงจันทร์เค ลื่อนเข้าบังดาวอัลเดบารันห รือดาวตาวัว ซึ่งนับเป็นดาวที่สว่างดวงห นึ่งบนท้องฟ้า กล้องสองตาและกล้องโทรทรรศน ์ที่มีฐานยึดมั่นคงจะสังเกต ปรากฏการณ์นี้ได้ดี
การบัง
การบัง (occultation) เป็นปรากฏการณ์ที่วัตถุท้อง ฟ้าบังกัน ส่วนใหญ่ใช้กับวัตถุที่มีขน าดปรากฏใหญ่มาบังวัตถุที่มี ขนาดปรากฏเล็ก ดวงจันทร์บังดาวเกิดขึ้นบ่อ ย ๆ สำหรับดาวที่มีความสว่างน้อ ย แต่สำหรับดาวเคราะห์และดาวฤ กษ์ที่สว่างมาก นาน ๆ เราจึงจะมีโอกาสเห็นได้สักค รั้งหนึ่ง
การสังเกตดวงจันทร์บังดาวทำ ได้ดีสำหรับดวงจันทร์ข้างขึ ้น เนื่องจากดวงจันทร์จะหันขอบ ด้านมืดเข้าบังดาวก่อน ดาวฤกษ์จะหายวับไปทันทีเบื้ องหลังด้านมืดของดวงจันทร์ หลังจากนั้นดาวดวงเดิมจะกลั บมาปรากฏอีกครั้งที่ขอบด้าน สว่าง แต่ถ้าเป็นข้างแรมจะกลับกัน
ปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวอ ัลเดบารันที่จะเกิดในคืนวัน ที่ 14 มีนาคม ดวงจันทร์อยู่ในช่วงข้างขึ้ น มีพื้นที่สว่างร้อยละ 38 มองเห็นเป็นเสี้ยว ด้านมืดของดวงจันทร์จึงเคลื ่อนเข้าบังดาวก่อน
ดาวอัลเดบารัน
ดาวอัลเดบารันเป็นดาวฤกษ์ที ่สว่างที่สุดในกลุ่มดาววัว ชื่อดาวมาจากภาษาอาหรับที่แ ปลว่า "ผู้ติดตาม" เข้าใจว่าหมายถึงนักล่าที่ต ิดตามฝูงนก ซึ่งแทนด้วยกระจุกดาวลูกไก่ ดาวอัลเดบารันมีสีส้ม เป็นดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ อายุมาก อยู่ห่างโลกประมาณ 65 ปีแสง ช่วง พ.ศ. 2558-2561 มีปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดา วอัลเดบารันเกิดขึ้นทั่วโลก ทั้งหมด 49 ครั้ง (นับรวมทุกครั้ง โดยไม่สนใจว่าเห็นได้ที่ใดแ ละเป็นเวลากลางคืนหรือไม่) ปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้นในว ันที่ 14 มีนาคม 2559 เป็นครั้งแรกที่สามารถสังเก ตได้บนท้องฟ้าเวลากลางคืนขอ งประเทศไทย
เมื่อสังเกตจากประเทศไทย
การบังครั้งนี้สามารถสังเกต ได้ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประ เทศ ยกเว้นภาคใต้ เริ่มตั้งแต่เวลาประมาณ 4 ทุ่มเศษ ขณะนั้นดวงจันทร์อยู่ต่ำทาง ทิศตะวันตก เวลาหัวค่ำ ก่อนการบัง ดาวอัลเดบารันจะปรากฏอยู่ห่ างไปทางด้านบนของดวงจันทร์ เมื่อเวลาผ่านไป ดวงจันทร์จะเคลื่อนเข้าใกล้ ดาวมากขึ้น พร้อมกับมีมุมเงยลดต่ำลง
ดวงจันทร์บังดาวอัลเดบารัน 14 มีนาคม 2559
สถานที่ เริ่ม สิ้นสุด
เวลา มุมเงย เวลา มุมเงย
กรุงเทพฯ 22:27 17° 23:01 9°
ขอนแก่น 22:20 17° 23:06 7°
จันทบุรี 22:31 15° 23:00 8°
เชียงใหม่ 22:15 23° 23:06 11°
นครราชสีมา 22:24 17° 23:04 7°
นครพนม 22:19 16° 23:08 5°
ประจวบคีรีขันธ์ 22:36 15° 22:54 11°
สุโขทัย 22:19 21° 23:05 10°
อุบลราชธานี 22:23 14° 23:06 4°
ดวงจันทร์ควรจะสว่างพอสมควร แต่คาดว่าตาเปล่าอาจพอจะสัง เกตเห็นได้ โดยเฉพาะในช่วงเริ่มบัง การสังเกตจะทำได้ดียิ่งขึ้น เมื่อใช้กล้องสองตาหรือกล้อ งโทรทรรศน์ที่มีฐานยึดและขา ตั้ง ปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวฤ กษ์ในลักษณะนี้ทำให้เราเห็น การเคลื่อนที่ของดวงจันทร์เ ทียบกับดาวฤกษ์ได้ชัดเจน
หลังจากครั้งนี้ ดวงจันทร์บังดาวอัลเดบารันท ี่เห็นได้ในประเทศไทยจะเกิด ขึ้นอีกครั้งในเช้ามืดวันพฤ หัสบดีที่ 22 กันยายน 2559 โดยเห็นได้เฉพาะภาคเหนือในช ่วงที่ท้องฟ้าเริ่มสว่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็อยู ่ในพื้นที่ซึ่งสังเกตได้ แต่ช่วงที่เริ่มบัง ท้องฟ้าจะสว่างขึ้นจนอาจกลบ แสงของดาวอัลเดบารัน
คืนวันจันทร์ที่ 14 มีนาคม 2559 เวลาประมาณ 4-5 ทุ่ม พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไท
การบัง
การบัง (occultation) เป็นปรากฏการณ์ที่วัตถุท้อง
การสังเกตดวงจันทร์บังดาวทำ
ปรากฏการณ์ดวงจันทร์บังดาวอ
ดาวอัลเดบารัน
ดาวอัลเดบารันเป็นดาวฤกษ์ที
เมื่อสังเกตจากประเทศไทย
การบังครั้งนี้สามารถสังเกต
ดวงจันทร์บังดาวอัลเดบารัน 14 มีนาคม 2559
สถานที่ เริ่ม สิ้นสุด
เวลา มุมเงย เวลา มุมเงย
กรุงเทพฯ 22:27 17° 23:01 9°
ขอนแก่น 22:20 17° 23:06 7°
จันทบุรี 22:31 15° 23:00 8°
เชียงใหม่ 22:15 23° 23:06 11°
นครราชสีมา 22:24 17° 23:04 7°
นครพนม 22:19 16° 23:08 5°
ประจวบคีรีขันธ์ 22:36 15° 22:54 11°
สุโขทัย 22:19 21° 23:05 10°
อุบลราชธานี 22:23 14° 23:06 4°
ดวงจันทร์ควรจะสว่างพอสมควร
หลังจากครั้งนี้ ดวงจันทร์บังดาวอัลเดบารันท
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น