จีนเปิดมหาวิทยาลัยใหม่โดยเ ฉลี่ย 1 แห่งทุกสัปดาห์
ความเจริญรุดหน้าทางด้านเศร ษฐกิจและสังคมจีนทำให้ผู้คน ให้ความสำคัญด้านการศึกษาเป ็นอย่างมาก แอนเดรียส ชไลเชอร์ ผู้อำนวยการองค์การเพื่อควา มร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพ ัฒนา (โออีซีดี) ระบุว่า ข้อมูลในปัจจุบันบ่งชี้ว่าจ ีนกำลังเร่งเดินหน้าพัฒนาด้ านการศึกษา และเปิดมหาวิทยาลัยแห่งใหม่ ขึ้นโดยเฉลี่ยสัปดาห์ละ 1 แห่ง ความคืบหน้านี้กำลังก่อให้เ กิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ต่อประชากรผู้สำเร็จก ารศึกษาระดับมหาวิทยาลัยของ โลก ทำให้จีนก้าวขึ้นเป็นประเทศ ที่มีจำนวนบัณฑิตรุ่นใหม่แซ งหน้าสหรัฐฯและยุโรป
ชไลเชอร์ ระบุว่า ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา สหรัฐฯเป็นประเทศที่มีจำนวน ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมหาว ิทยาลัยมากที่สุดในโลก แต่สิ่งเหล่านี้กำลังเปลี่ย นแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยปัจจุบันระบบการศึกษาของ จีนได้ผลิตบัณฑิตรุ่นใหม่ขึ ้นมาเป็นจำนวนมากแซงหน้าระบ บการศึกษาในสหรัฐฯและยุโรปร วมกัน และคาดว่าภายในปี 2573 จำนวนบัณฑิตจีนที่มีอายุ 25 – 34 ปีจะเพิ่มขึ้น 300% เมื่อเทียบกับตัวเลขในสหรัฐ ฯและยุโรปที่คาดว่าจะเพิ่มข ึ้นราว 30%
สำหรับปัจจัยที่เป็นอุปสรรค ต่อการศึกษาระดับมหาวิทยาลั ยในสหรัฐฯนั้น หลักๆมาจากปัญหาเรื่องค่าเล ่าเรียน ขณะที่การขยายตัวของมหาวิทย าลัยในยุโรปต้องหยุดชะงักลง เพราะไม่มีการลงทุนในภาครัฐ หรือมหาวิทยาลัยไม่ได้รับอน ุญาตให้ระดมเงินทุนด้วยตนเอ ง สวนทางกับสถานการณ์ในจีนและ ประเทศแถบเอเชีย เช่น อินเดีย ที่มุ่งเน้นการลงทุนในภาคกา รศึกษา และกำลังก้าวขึ้นมาทัดเทียม กับสถาบันอุดมศึกษาของชาติต ะวันตก
ชไลเชอร์ บอกว่า การแข่งขันที่ว่านี้ไม่ได้ข ึ้นอยู่กับเรื่องจำนวนนักศึ กษาเพียงอย่างเดียว ทว่าขึ้นอยู่กับคุณภาพการศึ กษาด้วย โดยข้อมูลในปี 2556 บ่งชี้ว่า 40% ของบัณฑิตจีนจบการศึกษาในสา ขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ซึ่งมีจำนวนมากเป็น 2 เท่าของบัณฑิตในสหรัฐฯ และบัณฑิตเหล่านี้ถือเป็นตั วจักรสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อ นเศรษฐกิจจีนและอินเดียไปสู ่ความเจริญรุดหน้า คาดว่าภายในปี 2573 จีนและอินเดียจะมีจำนวนบัณฑ ิตในสาขาวิชาเหล่านี้คิดเป็ น 60% ของทั้งโลก ขณะที่สหรัฐฯจะมีสัดส่วนเพี ยง 4% และยุโรป 8% เท่านั้น
ชไลเชอร์ กล่าวว่า ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อย่า งจีนและอินเดียกำลังเดิมพัน อนาคตประเทศไว้กับทรัพยากรม นุษย์เหล่านี้ ขณะที่สถาบันอุดมศึกษาและรั ฐบาลชาติตะวันตกก็มีความท้า ทายที่แท้จริงในการปรับตัว เพื่อให้สามารถรับมือการแข่ งขันกับประเทศเศรษฐกิจเกิดใ หม่ในเอเชียได้
ความเจริญรุดหน้าทางด้านเศร
ชไลเชอร์ ระบุว่า ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา สหรัฐฯเป็นประเทศที่มีจำนวน
สำหรับปัจจัยที่เป็นอุปสรรค
ชไลเชอร์ บอกว่า การแข่งขันที่ว่านี้ไม่ได้ข
ชไลเชอร์ กล่าวว่า ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อย่า
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น