ปรองดองแบบศรีธนญชัย....ของคณะรัฐประหาร คสช.

คณะราษฎรยึดอำนาจรัชกาลที7.และ ร.7,ทรงมีพระราชหัถเลขาว่า“เป็นการยึดอำนาจกันเฉยๆ....การยึดอำนาจของคณะไม่ใช่ดีโมรเครซีจริงๆเลย.การปกครองของคณะเป็นเผด็จการทางอ้อมๆ.....ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอำนาจทีเป็นของข้าพเจ้าอยู่แต่เดิมให้กับบุคคลใดบุุคคลหนึ่งหรือคณะใดคณะหนึ่ง,เว้นแต่จะเป็นความต้องการประชาชนเช่นนั้นเอง,
...ข้าพเจ้าจะไม่ยินยอมให้รัฐบาลคณะนี้ปกครองในนามของข้าพเจ้าอีดต่อไป,...“นี้คือ.พระราชหัถเลขาที,ร.7.ทรงสละพระราชอำนาจและเป็นอีกเหตุผลสำคัญ
คณะยึดอำนาจขณะนี้ก็เหมือนกับการยึดอำนาจของคณะราษฏรอย่างไม่ผิดเพี้ยนกัน
คณะราษฏรสถานาการปกครองทำไม่สำเร็จ,ได้อย่างเดียว,คือ,ได้รัฐธรรมนูญขึ้นมาหลังจากนั้นบ้าน้มืองก็ขัดแย้งแย่งอำนาจกันเรื่อยมาบ้านเมืองตกต่ำลงเรื่อยๆและล้าหลังไปทุกๆด้าน,นั้นคือ ,ผลงานจากคณะรัฐประหารชุดแรก,ซึ่งไม่สามารถทำให้บ้านเมืองเกิดความปรองดองในการปกครองได้,การแย่งอำนาจระหว่างคณะผู้ปกครองเรื่อยมา,
สรุป,คณะราษฏรได้สร้างมรดกทางการเมืองของประเทศไทยไว้จนเกิดคณะรัฐประหารชุดนี้ขึ้นมา
เพราะฉะนั้น,การรัฐประหารคณะนี้ทีมีทีท่าว่าไม่สมารถจะสร้างความปรองขึ้นมาได้แน่นอน
จึงหาวิธีที่จะนำมาอ้างแบบศรีธนญชัย,คือ,ไปเขียนคำว่า“ปรองดอง“ไว้ในรัฐธรนูญมันเสียเลย,โดยอ้างว่านี้คือความปรองดองเป็นความสำเร็จของคณะยึดอำนาจ ,
โดยเพื่อจะปัดความรับผิดทีสร้างปรองดองไม่ได้,ก็เลยโยนไปให้คณะอื่น ทีหลังจากได้รัฐบาลจากเลือกตั้งไปแล้ว ซึ่งก็หมายความอยู่ในตัวอยู่แล้วว่า เป็นการยึดอำนาจกันเฉยๆไม่ได้มีอะไรดีขึ้นนอกจากเลวร้ายลง
ทางแก้ของคณะยึดอำนาจก็อย่างเท่าที่เห็นนี้เอง
การยึดอำนาจครั้งนี้ก็ไม่ต่างอะไรกับคณะศรีธนญชัยทางการเมือง ครับ.?

 
Top